Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8645
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุกันยา มูลกวนบ้าน, 2525- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T03:53:37Z-
dc.date.available2023-08-09T03:53:37Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8645en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลการพัฒนามารยาททางสังคมของนักเรียนระยะก่อนและระยะหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคตัวแบบ และ (2) เปรียบเทียบผลการพัฒนามารยาททางสังคมของนักเรียนระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลการใช้ชุดกิจกรรม แนะแนวด้วยเทคนิคตัวแบบ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดราษฎร์นิยมธรรม (พิบูลสงคราม) จังหวัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนามารยาททางสังคม และ (2) แบบวัดมารยาททางสังคมมีความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ภายหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองมีมารยาททางสังคมสูงกว่า ระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่.01 และ (2) ในระยะติดตามผลนักเรียนกลุ่มทดลอง มีมารยาททางสังคมแตกต่างจากระยะหลังการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมารยาทและการสมาคม--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนามารยาททางสังคมของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดราษฎร์นิยมธรรม (พิบูลสงคราม) จังหวัดกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package based on modelling technique to develop social etiquette of Prathom Suksa III students at Wat Rat Niyom Tham School in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research were (1) to compare the effects of developing social etiquette of students prior to and after using a guidance activities package based on modelling technique; (2) to compare the effects of developing social etiquette of student at the completion of the experiment and during the follow up period of using the guidance activities package based on modelling technique. The research sample consisted of 40 Prathom Suksa III Students at Wat Rat NiyomTham School in Bangkok Metropolis during the first semester of the 2016 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments consisted of (1) a guidance activities package based on modelling technique to develop social etiquette; and (2) a scale to assess social etiquette, with reliability coefficient of 0.97. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) the post-experiment social etiquette level of the experimental group students was significantly higher than their preexperiment counterpart level at the .01 level of statistical significance; and (2) the social etiquette level of the experimental group students during the follow-up period was significantly different from their counterpart level at the completion of the experiment at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_155971.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons