Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประเวศ บุญราศรี, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T04:05:27Z-
dc.date.available2023-08-09T04:05:27Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8646-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแนะแนวอาชีพ ที่มีต่อวุฒิภาวะด้านอาชีพของนักเรียนกลุ่มทดลอง ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เปรียบเทียบผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแนะแนวอาชีพ ที่มีต่อวุฒิภาวะด้านอาชีพของนักเรียน ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ครู และผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแนะแนวอาชีพ การดำเนินการวิจัยโดย 1) การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งมาจากการวัดคะแนนวุฒิภาวะด้านอาชีพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 233 คน แล้วคัดเลือกนักเรียนจากห้องที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน จำนวน 2 ห้อง เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ห้องละ 30 คน 2) การสร้างเครื่องมือ คือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแนะแนวอาชีพ และแบบวัดวุฒิภาวะด้านอาชีพ 3) การทดลองและการเก็บข้อมูลด้วยการให้นักเรียนทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมได้ร่วมกิจกรรมเป็นเวลาไม่น้อยกว่ากลุ่มละ 12 คาบ 4) การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแนะแนวอาชีพ มีคะแนนวุฒิภาวะด้านอาชีพหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน 2) ผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแนะแนวอาชีพ พบว่ากลุ่มทดลองที่ได้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีระดับคะแนนวุฒิภาวะด้านอาชีพสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยวิธีปกติ 3) นักเรียนให้ระดับความคิดเห็นแต่ละประเด็นอยู่ที่ระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนครูและผู้เชี่ยวชาญให้ระดับความคิดเห็นแต่ละประเด็น อยู่ที่ระดับปานกลางถึงมากที่สุด โดยประเด็นที่ได้คะแนนระดับปานกลาง หนึ่งข้อ คือ ความชัดเจนของเสียงบรรยาย และมีความเห็นตรงกันทั้ง 3 กลุ่มว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแนะแนวอาชีพนี้สามารถ ใช้เป็นบทเรียนการแนะแนวอาชีพได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนวอาชีพth_TH
dc.titleผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการแนะแนวอาชีพ ที่มีต่อวุฒิภาวะด้านอาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเกาะสมุุย จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternative‫Effects of using a computer assisted instruction program in career guidance on career maturity of Mathayom Suksa III students of Koh Samui School in Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to compare the effects of using a computer assisted instruction program in career guidance on career maturity of students in the experimental group before and after using 2) to compare the effects of using a computer assisted instruction program in career guidance on career maturity of students between the experimental group and control group 3) to study the opinions of students teachers and specialist for using a computer assisted instruction program in career guidance on career maturity The research by 1) selecting the population and sample. From the test scores career maturity scale of Mathayom Suksa III students includes 233 people and selected from the same average classroom amount 2 classrooms were the experimental group amount 30 people and control group amount 30 people 2) created instruments were a computer assisted instruction program in career guidance and career maturity scale 3) the trial and data collection. By the students in experimental group and control group joined activity not less than 12 times per group 4) the statistical analysis with mean standard deviation and t-test. The results showed that: 1) students in the experimental group were using by a computer assisted instruction program in career guidance. Career maturity scores posttest more than pretest 2) the effects of using a computer assisted instruction program in career guidance. Between the experimental group and the control group. Found that the experimental group were using a computer assisted instruction program in career guidance, Maturity level higher than the normal control group study 3) Found that students with feedback on the issues at the very most. The class teacher and expert comment on issues in the moderate to the most. Points scored by a moderate one is the clarity of the narrative voice. And there are consensus that a computer assisted instruction program in career guidance can using in program career guidanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137465.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons