Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8647
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิตติมา คำฉายทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T04:07:37Z-
dc.date.available2023-08-09T04:07:37Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8647-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยด้านผู้นำชุมชนที่มีความสัมพันธ์กับการ มีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียในเขตเทศบาลเมืองคูคต และ(2) เสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาผู้นำชุมชนต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียใน เขตเทศบาลเมืองคูคต การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบผสมวิธี ประชากรที่ใช้สำหรับการศึกษาครั้งนี้ แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ ประชากรสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคูคต ทั้ง 31 ชุมชน จำนวน 29,478 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่ม ตัวอย่าง จำนวน 395 คน และประชากรที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ คือ ประธาน คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการชุมชนและประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคูคต รวมทั้งสิ้น จำนวน 12 คน ศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยแบบสอบถามและแบบ สัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ร้อยละ การทดสอบค่าไคสแควร์และการพรรณนา วิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยด้านผู้นำชุมชนที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียในเขตเทศบาลเมืองคูคต คือ ปัจจัยด้านการบริหารงาน ลักษณะของผู้นำชุมชน ภาวะผู้นำและกระบวนการสื่อสารในชุมชน (2) แนวทางในการพัฒนา ผู้นำชุมชนต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย คือ ผู้นำชุมชนควรมีการ รณรงค์อย่างต่อเนื่อง มีการลงพื้นที่เพื่อทำความเข้าใจ มีการสร้างความสัมพันธ์ในชุมชน มีการจัดกิจกรรมสร้างแรงจูงใจและมีการประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้นำชุมชน--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectการกำจัดน้ำเสีย--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleบทบาทของผู้นำชุมชนต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียในเขตเทศบาลเมืองคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeThe role of community leaders in public participation in resolving the problem of polluted water in Khukhot Municipality, Lamlukka District, Pathumthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to 1) study community leader factors relating public participation in resolving problem of polluted water in Khukhot Municipality, and 2) propose the recommendation to develop community leader in public participation in resolving the problem of polluted water in KhuKhot Municipality, Lamlukka District, Pathumthani Province. This study was mixed-method research. The populations of study were 2 groups. The population for quantitative study was the people in Khukhot municipality, 31 communities, with total 29,478. Sample size was calculated by Taro Yamane’s formula with total 395. The population for qualitative study, by interviewing, was consisted of Chairman of the community committee, the community committee, and people in Khukhot municipality with total of 12 people. The instruments were Questionnaire and interview form. The Analysis of Data used frequency, percentage, and Chi-square test. The results found that 1) Community leader factors relating public participation in resolving the problem of polluted water in Khukhot Municipality were management factor, leadership trait, leadership, and communication process in community. 2) Recommendations to develop community leader in the public participation in resolving the polluted water were that community leader may need to continually campaign, go to location for insightful understanding of community, build good relationship with people in community, set up activities for motivating people for public participation, and coordinate the partnership with organization outside of communityen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158820.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons