Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8650
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกาญจนา ไทยลำภู, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T04:16:14Z-
dc.date.available2023-08-09T04:16:14Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8650-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนกลุ่มทดลอง ก่อนและหลัง การใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (2) เปรียบเทียบแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง (3) เปรียบเทียบแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ลักษณะมุ่งอนาคตและควบคุมตน และการเลี้ยงดูจากครอบครัวแตกต่างกัน หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และ (4) เปรียบเทียบผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับกลุ่มทดลอง ในระยะหลังทดลองกับระยะติดตาม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนวิสุทธิวงศ์ ตาบลโพนสูง อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ชั้นละ 20 คน รวมเป็น 60 คน หลังจากนั้นสุ่มเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 30 คน เครื่องมือการวิจัยได้แก่ (1) แบบสอบถามแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน (2) แบบสอบถามสภาพการเลี้ยงดูจากครอบครัว (3) แบบสอบถามการมุ่งอนาคตและควบคุมตน (4) ชุดกิจกรรมแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคมสาหรับกลุ่มควบคุม และ (5) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สำหรับกลุ่มทดลอง มีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น สัมประสิทธิ์แอลฟารวมทั้งฉบับ เท่ากับ .88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนกลุ่มทดลองหลังจากได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ สูงขึ้นกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มีแรงจูงใจมากกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม (3) นักเรียนกลุ่มทดลองที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ลักษณะการควบคุมตนเองและการมุ่งอนาคต และการเลี้ยงดูจากครอบครัวต่างกัน เมื่อใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ไม่แตกต่างกัน และ (4) นักเรียนกลุ่มทดลองหลังจากได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ทั้งหลังการทดลองและระยะติดตามสูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนว -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวิสุทธิวงศ์ อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop achievement motivation of lower secondary students at Visutthivong School, Ban Dung District, UdonThani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the levels of achievement motivation of the experimental group students before and after using a guidance activities package to develop achievement motivation; (2) to compare the post-experiment levels of achievement motivation of students in the experimental and control groups; (3) to compare the post-experiment levels of achievement motivation of experimental group students with differences in levels of learning achievement, future-oriented and self-control characteristics, and patterns of rearing in the family; and (4) to compare the level of achievement motivation of the experimental group students at the end of the experiment period with that of their achievement motivation during the follow-up period. The research sample totaling 60 lower secondary students consisted of 20 students from Mathayom Suksa I level, 20 students from Mathayom Suksa II level, and 20 students from Mathayom Suksa III level, all of which were purposively selected from Visutthivong School, Ban Dung District, Udon Thani Province during the second semester of the 2012 academic year. After that, 30 students were randomly assigned into the experimental group; while the rest of 30 students were randomly assigned into the control group. The employed research instruments were (1) a questionnaire on achievement motivation; (2) a questionnaire on the pattern of child rearing in the family; (3) a questionnaire on the future-oriented and self-control characteristics; (4) a personal and social guidance activities package for the control group; and (5) a guidance activities package to develop achievement motivation for the experimental group, which had the IOCs ranging from .67 – 1.00 and the Cronbach Alpha reliability coefficient of .88. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and two-way analysis of variance. Research findings showed that (1) after using the guidance activities package to develop achievement motivation, the experimental group students increased their level of achievement motivation significantly at the .05 level; (2) the experimental group students using the guidance activities package to develop achievement motivation had their level of achievement motivation significantly higher than that of the control group students using the personal and social guidance activities package at the .05 level; (3) the experimental group students with differences in the level of learning achievement, future-orientation and self-control characteristics, and patterns of rearing in the family did not significantly differ in their levels of achievement motivation after using the guidance activities package to develop achievement motivation; and (4) the experimental group students had significantly increased their levels of achievement motivation both at the end of the experiment and during the follow-up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137707.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons