Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8651
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคำไพร เหลาแสน, 2524- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T04:21:38Z-
dc.date.available2023-08-09T04:21:38Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8651-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี กฎหมาย กระบวนการและขั้นตอน หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการการใช้มาตรการพิเศษแทนคดีอาญาก่อนฟ้องในคดีเด็กและเยาวชน โดยทําการศึกษาค้นคว้า เพื่อนํามาวิเคราะห์และเปรียบเทียบให้เห็นประเด็นปัญหา และหาข้อสรุปหรือแนวทางการปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนกระบวนการหรือวิธีการดําเนินการในกระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและ เยาวชนของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นการวิจัยทางเอกสารเป็นหลัก จากตัวบทกฎหมาย หนังสือตํารากฎหมาย วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย เอกสารประกอบการเรียน การสอน บทความทางวิชาการ และเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเอกสารออนไลน์ต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่าการนํามาตรการพิเศษแทนการดําเนินคดีอาญามาใช้ก่อนฟ้อง ในคดีเด็กและเยาวชนยังมีประเด็นปัญหาในเรื่องการไม่ได้กําหนดให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ ดําเนินคดีเป็นผู้นํามาตรการพิเศษแทนการดําเนินคดีอาญามาใช้เป็นลําดับแรก ซึ่งไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการนํามาตรการพิเศษแทนการดําเนินคดีอาญาที่ต้องการเบี่ยงเบนคดีเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรมปกติให้เร็วที่สุด ตลอดจนเรื่องการไม่ได้กำหนดประเภทคดีให้ชัดเจนว่าคดีประเภทใดบ้างที่สามารถใช้วิธีการแก้ไขฟื้นฟูโดยการว่ากล่่าวตักเตือนได้ ข้อเสนอแนะ เห็นควรกำหนดให้หน่วยงานเริ่มต้นคดีเป็นผู้เริ่มนํามาตรการพิเศษแทนการดําเนินคดีอาญามาใช้เป็น หน่วยงานแรกภายใต้เงื่อนไขการกําหนดประเภทคดีเอาไว้ให้ชัดเจนเพื่อใช้วิธีการแก้ไขฟื้นฟู โดยการวากล่าวตักเตือน ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติกับหลักสากลและเหมาะสมกับโครงสร้างขององค์กรในกระบวนการยุติธรรมและบริบทของสังคมไทยในปัจจุบัน ก่อให้เกิดผลดีต่อผู้กระทําความผิดที่เป็นเด็กและเยาวชน ผู้ได้รับความเสียหาย และชุมชน ตลอดจนผู้ปฏิบัติงาน ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาก่อนฟ้องในคดีเด็กและเยาวชนth_TH
dc.title.alternativePre-prosecuting special measure in lieu of criminal proceedings in children and juvenile casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study concepts, theories, laws, processes and procedures, criteria and conditions related to the application of pre-prosecuting special measure in lieu of criminal proceedings in children and juvenile cases. The study was conducted to analyze and compare for awareness of problem aspects or to find the conclusion or guideline for law, rule and regulation amendment, as well as process or operating procedure in process of judgment for children and juvenile of Thailand for more efficiency. This independent study is qualitative research mainly focusing on documentary researches from articles of laws, legal textbooks, thesis, research reports, instructional documentations, academic articles and related academic documents, as well as online documents both in the country and overseas. The finding of the studying results indicated that the problem aspects in application of pre-prosecuting special measure in lieu of criminal proceedings in children and juvenile cases included non-determination of the agency which is firstly responsible for judicial proceedings to apply special measure in lieu of criminal proceedings whereas this was inconsistent with the purpose of the application of special measure in lieu of criminal proceedings that require diverting children and juvenile cases from normal process of judgment as quick as possible; and unclear determination in type of case that corrective and rehabilitating method by admonition can be applied for which type of case. According to suggestion, it was deemed appropriate to determine the case initiating agency that shall commence applying special measure in lieu of criminal proceedings as the first agency under the condition of clear determination in type of case for application of corrective and rehabilitating method by admonition. Nevertheless, for consistency of practical guideline with international principle, and appropriateness for organizational structure in process of judgment and context of current Thai society, it will result in benefit toward the offenders who are children and juvenile, victim and community, as well as operator, accordinglyen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_158878.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons