Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8652
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณ์ดี แสงประทีปทอง | th_TH |
dc.contributor.author | วนัสสุดา เจตนา, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T04:36:13Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T04:36:13Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8652 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2553 จานวน 600 คน จากโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่พัฒนาในการวิจัยเป็นแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดย หาความตรงเชิงเนื้อหา ความเที่ยง ความยาก และอำนาจจาแนก ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ได้แบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1 ฉบับ ประกอบด้วยข้อสอบ 20 ข้อ แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 เป็นข้อสอบปรนัย แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 12 ข้อ วัดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 4 ด้าน ด้านละ 3 ข้อ คือ ด้านการแก้ปัญหา ด้านการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ได้ ด้านการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ และด้านการให้เหตุผล ตอนที่ 2 เป็นข้อสอบอัตนัย จำนวน 8 ข้อ วัดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 5 ด้าน คือ ด้านการแก้ปัญหา ด้านการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ด้านการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ ด้านการให้เหตุผล ด้านละ 1 ข้อ และด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จำนวน 4 ข้อ (2) แบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีความตรงเชิงเนื้อหาโดยค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง .60 ถึง 1.00 ค่าความเที่ยงของแบบวัด ตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย เท่ากับ .80 และแบบวัดตอนที่ 2 ข้อสอบอัตนัย เท่ากับ .81 ค่าความเที่ยงของแบบวัดทั้งฉบับ เท่ากับ .78 ค่าความยากรายข้อของแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์อยู่ระหว่าง .28 ถึง .58 ค่าอำนาจจำแนกรายข้อของแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์อยู่ระหว่าง .53 ถึง .89 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.151 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ทักษะการเรียน | th_TH |
dc.title | การพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to develop a mathematics process skills test for Prathom Suksa III students in schools under the Office of Si Sa Ket Primary Education Service Area 2; and (2) to verify quality of the developed mathematics process skills test for Prathom Suksa III students in schools under the Office of Si Sa Ket Primary Education Service Area 2. The research sample consisted of 600 Prathom Suksa III students in the 2010 academic year from schools under the Office of Si Sa Ket Primary Education Service Area 2, obtained by stratified random sampling. The developed research instrument was a mathematics process skills test for Prathom Suksa III students. Quality of the instrument was verified by finding its content validity, discriminating indices, difficulty indices, and reliability. Research findings were as follows: (1) The developed mathematic process skills test contained 20 test items and comprised two parts. Part 1 contained 12 objective test items for assessment of the mathematics process skills of problem solving (3 items); reasoning (3 items); mathematics communication and presentation (3 items); and connection between various branches of mathematics knowledge and between mathematics and other fields (3 items). Part 2 contained eight essay type test items for assessment of the mathematics process skills of problem solving (1 item); reasoning (1 item); mathematics communication and presentation (1 item); connection between various branches of mathematics knowledge and between mathematics and other fields (1 item); and creative thinking (4 items). (2) The developed mathematics process skills test had content validity as shown by the IOCs ranging from .60 to 1.00. Reliability of the test in Part 1 containing objective test items was .80; and that of Part 2 containing essay type test items was .81; and reliability of the whole test was found to be .78. The difficulty indices of items ranged from .28 to .58. The discriminating indices of items ranged from .53 to .89. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปรีชา เนาว์เย็นผล | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
137712.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License