Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8661
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิ่งพร ทองใบ | th_TH |
dc.contributor.author | อัลลิสา ยะมา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T06:48:19Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T06:48:19Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8661 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปริมาณงานและอัตรากำลังคนในสาย ธุรการของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนราธิวาส และ (2) เสนอแนะกรอบอัตรากำลังคนที่เหมาะสมในสายธุรการของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนราธิวาส ในช่วงปี พ.ศ.2560-2564 การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรสายธุรการ ของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนราธิวาส จํานวน 6 กลุ่มงาน ได้แก่กลุ่มงานช่วยอํานวยการ กลุ่มงานคลังกลุ่มงานบริการประชาชนและประชาสัมพันธ์กลุ่มงานคดีกลุ่มงานช่วยพิจารณาคดี กลุ่มงานไกล่เกลี่ยและประนีประนอม จํานวน 26 คนและผู้อํานวยการ 1 คน รวมทั้งสิ้น 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสํารวจการคิดคํานวณอัตรากำลังตามชิ้นงานและกิจกรรมที่ ผู้ศึกษาพัฒนาจากหลักการศึกษาการทํางานและการวิเคราะห์งาน รวมถึงแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนากับข้อมูลและการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อสรุปผลการวิเคราะห์งาน ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มงานในสายธุรการของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด นราธิวาสมีเพียง 1 กลุ่มงาน ที่มีระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริงใกล้เคียงกันกับระยะเวลาที่ใช้ ในการปฏิบัติงานตามการคํานวณ คือ กลุ่มงานบริการประชาชนและประชาสัมพันธ์ กลุ่มงานที่ใช้ ระยะเวลาในการปฏิบัติงานจริงสูงกว่าระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามการคํานวณ จํานวน 3 กลุ่มงาน โดยเกินกว่าร้อยละ 20 ของระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามกรอบอัตรากำลัง คือ กลุ่มงานช่วยอํานวยการ กลุ่มงานคดีและกลุ่มงานคลัง โดยกลุ่มงานคลัง มีระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริงสูงกว่าระยะเวลา ที่ใช้ในการปฏิบัติงานตามการคํานวณมากที่สุด คือ ร้อยละ 253.60 และ (2) ข้อเสนอแนะกรอบ อัตรากาลังคนที่เหมาะสมในสายธุรการของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนราธิวาส ในช่วงปี พ.ศ.2560-2564 คือ ควรมีการเพิ่มอัตรากำลังของกลุ่มงานคลัง ขั้นตํ่า 2 อัตราตําแหน่ง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ทรัพยากรมนุษย์--การวางแผน | th_TH |
dc.subject | ศาลเยาวชนและครอบครัว--การบริหาร.--ไทย--นราธิวาส | th_TH |
dc.title | การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ของศาลเยาวชนและครอบครัว จังหวัดนราธิวาส | th_TH |
dc.title.alternative | Narathiwat juvenile and family court human resource planning | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were to: (1) study workload and manpower of Administrative Office at Narathiwat Juvenile and Family Court and; (2) to propose an appropriate manpower framework guidance of Administrative Office at Narathiwat Juvenile and Family Court during 2017 – 2021. The population of this qualitative research consisted of twenty six administrative staffs and one director from Administrative Support Section, Finance Section, Public Relations and Services Section, Litigation Section, Trial Support Section, and Mediation and Compromise Section of Narathiwat Juvenile and Family Court. The instrument was used manpower plan survey rate by case and activities that researcher developed from the principles of work study and work analysis including interview. The data analysis was used conducted by descriptive and content analysis to job analysis. The results of the study showed that: (1) Public Relations and Services Section of Administrative Office at Narathiwat Juvenile and Family Court was the only one working group that had duration of work close actual work calculate from task performance, while Administrative Support Section, Litigation Section, and Finance Section spent more than 20 percent of actual time, particularly Finance Section spent more than 253.60 percent of actual time; and (2) the appropriate manpower framework guidance of Administrative Office at Narathiwat Juvenile and Family Court during 2017 – 2021 should add at least 2 positions in Finance Section. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
152219.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License