Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8669
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายชล จันทะเนตร, 2529- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T07:13:49Z-
dc.date.available2023-08-09T07:13:49Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8669en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะการแก้ไขปัญหาด้านการเรียนของนักเรียน ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (2) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาด้านการเรียนของนักเรียนระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 30 คน ใน 1 ห้องเรียน ของโรงเรียนการเคหะท่าทราย เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อการเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาด้านการเรียน จำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง และ (2) แบบวัดทักษะการแก้ปัญหาด้านการเรียน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หลังการทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อการเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาด้านการเรียน นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาด้านการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาด้านการเรียน เป็นระยะวลา 4 สัปดาห์ นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาด้านการเรียน ระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผลไม่แตกต่างกัน.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectนักเรียน--การให้คำปรึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาด้านการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนการเคหะท่าทราย กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package to enhance problem solving skill of Mathayom Suksa II students of Kankheha Thasai School in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the levels of learning problem solving skill of students before and after using a guidance activity package; and (2) to compare the levels of learning problem solving skill of students at the completion of the experiment and during the follow-up period. The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa II students in an intact classroom of Kankheha Thasai School, Lak Si district, Bangkok Metropolis during the first semester of the academic year 2019, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to enhance learning problem solving skill consisting of 8 guidance activities each of which lasted for 1 hour; and (2) a scale to assess learning problem solving skill, with reliability coefficient of .93. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The results of the research revealed that (1) after the experiment with using the guidance activities to enhance learning problem solving skill, the post-experiment learning problem solving skill level of the students was significantly higher than its pre-experiment counterpart level at the .05 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found between the students’ post-experiment learning problem solving skill level and its counterpart level at the four-week period after the experiment.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161620.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons