Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8670
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ | th_TH |
dc.contributor.author | ชลาลัย มัณฑปาน, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T07:17:40Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T07:17:40Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8670 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของข้าราชการกรม ส่งเสริมการเกษตรต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการ กรมส่งเสริมการเกษตรต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการเสริมสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริม การเกษตร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการ กรมส่งเสริมการเกษตร ในสังกัดส่วนกลางที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 241 คนเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.976 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่าง นัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษา พบว่า (1) ความคิดเห็นของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรต่อความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงานในด้านปัจจัยจูงใจอยู่ในระดับมาก โดยมีความพึงพอใจในด้านความสำเร็จในงานสูงสุด รองลงมา คือ ลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ความรู้สึกได้รับการยอมรับ ความรับผิดชอบต่องาน และโอกาสก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ตามลำดับ และในด้านปัจจัยคํ้าจุนอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความพึงพอใจในด้านความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงานและผู้บังคับบัญชาสูงสุด รองลงมาคือ ระดับ และคุณภาพของการบังคับบัญชา การประเมินผลการปฏิบัติงาน นโยบายและการบริหารงานของ หน่วยงาน และสภาพการทำงานตามลำดับ (2)คุณลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกันในด้านเพศ อายุ ประสบการณ์การทำงาน รายได้ ตำแหน่งงาน และหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) เพื่อเสริมสร้างความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงาน ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการเข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรต่างๆ และควรปรับปรุงอุปกรณ์และเครื่องมือในการปฏิบัติงานให้มีความเพียงพอต่อการใช้งาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | กรมส่งเสริมการเกษตร--ความพอใจในการปฏิบัติงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน | th_TH |
dc.title.alternative | Department of agriculture extension official's opinion toward job performance satisfaction | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study were to (1) study the level of Department of Agriculture Extension Official’s Opinion on Job Performance Satisfaction, (2) comparison of Department of Agriculture Extension Official’s Opinion on Job Performance Satisfaction by personal factors, and (3) recommend the guidelines to enhance the satisfaction of the official of the Department of Agriculture Extension. This study was a survey research. The population was the official of the Department of Agriculture Extension. Under the centrally located in Bangkok. The content of the sample was standard deviation with the 95% confidence interval of 241 people with a questionnaire which a reliability value of 0.976. Data the data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and multiple comparisons. The results of the study revealed that (1) satisfaction with the performance of the officials of the motivators factors at a high level, with satisfaction the great achievement and followed by work itself, recognition, responsibility and possibility of growth respectively, and the hygiene factors at a middle level. with satisfaction the great relations with superiors and peers, followed by supervision, evaluation of performance, policy and administration and work conditions, respectively. (2) personal factors were different in terms of sex, age, income, experience, position and department, satisfied with the performance difference was statistically significant at the 0.05 level, and (3) the recommendation for guideline to enhance the job performance satisfaction in their work, should be encouraging and supporting their training courses, and improvement in the equipment and operational needs for the official user. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
129187.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License