Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกาญจนา วัธนสุนทร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสังวาลย์ โพนพุทธ, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T07:36:24Z-
dc.date.available2023-08-09T07:36:24Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8676-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบวัดทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวิชาภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 37 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการหาความตรงเชิงเนื้อหา ความยาก อำนาจจำแนกและความเที่ยง ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบวัดทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวิชาภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นข้อสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 50 ข้อ ซึ่งเป็นแบบวัดการอ่านจับใจความสำคัญวิชาภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัดที่ 4 ระบุหัวข้อเรื่อง (topic) ใจความสำคัญ (main idea) และตอบคำถามจากการฟังและอ่านบทสนทนา นิทานและเรื่องสั้น และ (2) แบบวัดทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวิชาภาษาอังกฤษมีคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหาโดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80 -1.00 ความยากอยู่ระหว่าง 0.32-0.66 อำนาจจาแนก อยู่ระหว่าง 0.23 - 0.64 และความเที่ยงมีค่าเท่ากับ 0.87th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.20en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การอ่านth_TH
dc.subjectภาษาไทย -- การอ่าน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a reading for main idea comprehension skill test in English for Mathayom Suksa I students in schools under the Secondary Education Services Area Office 21th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a reading for main Idea comprehension skill test in English for Mathayom Suksa I students in schools under the Secondary Education Service Area Office 21; and (2) to verify the quality of the reading for main idea comprehension skill test in English for Mathayom Suksa I students in schools under the Secondary Education Service Area Office 21. The sample consisted of 37 Mathayom Suksa I students in the 2012 academic year, obtained by multi-stage sampling. The developed research instrument was a reading for main Idea comprehension skill test in English for Mathayom Suksa I students. Quality of the instrument was verified by finding its content validity, difficulty indices, discriminating indices, and reliability. Research findings were as follows: (1) the developed reading for main idea comprehension skill test in English for Mathayom Suksa I students was a 50-item multiple choice objective test with 4 choices in each test item; it was to be used to test reading for main idea comprehension skill in English as specified in the Fourth Indicator (Being able to identify the topics and main ideas, and to answer questions based on listening to and reading from dialogues, fairy tales and short paragraphs) of the Lower Secondary Standard 1.1(Being able to understand and interpret the topics and ideas based on listening to and reading from various media, and express opinions reasonably); and (2) the developed reading for main idea comprehension skill test in English had content validity as shown by the IOC ranging from 0.80 - 1.00; its difficulty indices were in the range of 0.32 - 0.66; its discriminating indices were in the range of 0.23 - 0.64; and its reliability was 0.87en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
138835.pdfเอกสารฉบับเต็ม4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons