Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8688
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลาวัลย์ หอนพรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | กันยารักษ์ บุญรักษ์, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T08:19:17Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T08:19:17Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8688 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 กับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวคิด หลักทฤษฎี ความเป็นมาและหลักเกณฑ์ทั่วไปเกี่ยวกับการใช้อํานาจในสถานการณ์ฉุกเฉิน และ ศึกษากฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินของต่างประเทศและของประเทศไทย รวมถึงวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดจากบทบัญญัติของพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาบทบัญญัติของพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ที่เหมาะสมมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง แก้ไข ในการบังคับใช้พระราชกำหนดดังกล่าวของฝ่ายรัฐบาล ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสารโดยศึกษาหาข้อมูลจากตัวบทกฎหมายของประเทศไทยและของต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารต่างๆ หนังสือ บทความ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ วิทยานิพนธ์ และสื่ออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ใน เพื่อนํามาวิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงพระราชกำาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 และหาบทสรุป ที่ถูกต้องและเหมาะสม ผลจากการศึกษาพบว่า บทบัญญัติของพระราชกําหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 มีประเด็นปัญหาเรื่องการขยายระยะเวลาของการประกาศสถานการณ์ ฉุกเฉินที่ไม่มีที่สิ้นสุด ปัญหาเกี่ยวกับการขาดกระบวนการควบคุมการใช้อํานาจของเจ้าหน้าที่อย่างเพียงพอในการใช้อํานาจทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ปัญหาเกี่ยวกับความบกพร่องในเรื่อง การควบคุมตรวจสอบการใช้อํานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ในสถานการณ์ฉุกเฉินโดยการตัดอํานาจ ศาลปกครอง ดังนั้นจึงควรมีการแก้ไขปรับปรุงพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เพื่อให้สอดคล้องกบสถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การบริหารรัฐกิจ--ไทย | th_TH |
dc.subject | กระบวนการยุติธรรมทางอาญา--ไทย | th_TH |
dc.title | การใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Use of emergency decree on Public Administration in Emergency Situation B.E.2548 and Criminal Justics Administration | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study on concept, theory, background and principle of the power in a State of Emergency and also study to The Law of a State of Emergency in other countries including Thailand. Furthermore, this research is aim to analyze any problems which derive from the gap of any provisions in the Emergency Decree on Public Administration in Emergency Situation B.E.2548 To find the proper solutions which can use as guideline for amending and a Decree of the Government, in accordance to current situation. This research is a qualitative research based on documentary study on a data compilation and analysis of related provision of law, legislation, research reports, journal articles, various electronic data, internet and legal concept on Thai law and Foreign Law which related to the Emergency Decree on Public Administration In Emergency Situation B.E.2548. The research found that the provision of the Emergency Decree on Public Administration in Emergency Situation B.E.2548 has a has drawback dealing with the extension of a State of Emergency Announcement which is never-ending, issue The lack of process to control officers to use their power; in accordance with the Criminal Justice Administration, and defectively control by cutting power of the Administrative Court. Hence, it is recommended that the amendment of the Emergency Decree on Public Administration in Emergency Situation B.E.2548 to conform with Thailand’s current situation is required. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_150589.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License