Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8689
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชาญณรงค์ นิลเรือง, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T08:19:18Z-
dc.date.available2023-08-09T08:19:18Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8689-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาระดับความฉลาดทางอารมณ์ของพนักงาน บริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด (2) เปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมและรายด้านของ พนักงาน จำแนกตามตัวแปร เพศ อายุ การศึกษา และรายได้ (3) ศึกษาสภาพแวดล้อมในลักษณะงานที่ส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์ของพนักงาน บริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด (4) นำเสนอ แนวทางในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของพนักงาน บริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด การศึกษาอิสระนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูลจากลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานบริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด ใช้จำนวนตัวอย่าง 250คน จากจำนวนประชากรทั้งหมด 635 คนหาสัดส่วนจากสูตรของทาโรยามาเน่ในการกำหนด จำนวนกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยองค์ประกอบด้านดี ด้านเก่งและด้านสุข ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยหา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ค่าความ แปรปรวนทางเดยว (One-way ANOVA) และ Lest-Significant Difference ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานบริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด มีระดับความฉลาดทาง อารมณ์อยู่ในระดับปกติทั้งในด้านดี เก่ง สุข และโดยรวม (2) พนักงานที่มีปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ต่างกัน มีระดับความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมและรายด้านอยู่ในเกณฑ์ปกติและไม่แตกต่างกัน ยกเว้นพนักงานที่มีระดับการศึกษา และรายได้ต่างกัน ที่มีระดับฉลาดทางอารมณ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) พนักงานที่มีปัจจัยลักษณะงานต่างกัน มีระดับความฉลาดทาง อารมณ์โดยรวมและรายด้านอยู่ในเกณฑ์ปกติและไม่แตกต่างกัน ยกเว้นพนักงานที่มีอายุงานต่างกัน ที่มีระดับฉลาดทางอารมณ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ข้อเสนอแนะ บริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด ควรสนับสนุนจัดสัมมนาเพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาความฉลาดทาง อารมณ์ของพนักงานในบริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริษัทนันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัด--พนักงานth_TH
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์ของพนักงานบริษัท นันยางเท็กซ์ไทล์ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting emotional quotient of employees in Nanyang Textile Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were to : (1) study the level of the Emotional Quotient (EQ) of employees in Nanyang Textile Company Limited; (2) compare Emotional Quotient (EQ) of employees with all aspects and also with each category within each aspect of them classifying according to variable determined such as the sex, age, degree and income of employees; (3) study environment in job characteristics that affect the Emotional Quotient (EQ) of employees in Nanyang Textile Company Limited; (4) present the development the Emotional Quotient (EQ) of employees in Nanyang Textile Company Limited. This survey study was undertaken via a questionnaire us tool for data collection employees from the employees of Nanyang Textile Company Limited. The sample size for study calculated by Taro Yamane Method were 250 out of 635 employees. The study instrument was derived from the Emotional Quotient Evaluation from of Department of Mental Health, Ministry of Public Health which included three main aspects: the good aspect, the smart aspect and the happy aspect. The data were analyzed with frequency, percentage, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA and Lest-Significant Difference. The results were as follows: (1) The Emotional Quotient (EQ) of employees was normal in all aspects and each aspect: the good aspect, the smart aspect and the happy aspect; (2) The Emotional Quotient (EQ) of employees who were in different variable factors of personal nature was normal in all aspects and did not difference except the results of employees from different degree and different income were significant at the level of 0.05; (3) The Emotional Quotient (EQ) of employees who were in different variable factors of job characteristics was normal in all aspects and did not difference except the result of employees from different the term of working in company was significant at the level of 0.05; (4) The suggestion is Nanyang Textile Company Limited should be supportable seminar to help develop the Emotional Quotient (EQ) of employees.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149653.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons