กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/868
ชื่อเรื่อง: | กลวิธีหาเสียงเลือกตั้งของผู้ชนะการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ.2550 : กรณีศึกษาผู้ชนะการเลือกตั้งในจังหวัดเลย |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Strategies for the election campaigning of the successful candidates in the member of parliament election from general election in B.E. 2550 : a case study of the election winners in Loei Province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | เสนีย์ คำสุข กาญจนา แสนศาลา, 2518- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา ปธาน สุวรรณมงคล |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -- การเลือกตั้ง -- 2550 การเลือกตั้ง -- ไทย -- เลย |
วันที่เผยแพร่: | 2552 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบกลวิธีหาเสียงเลือกตั้งของผู้ชนะ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดเลย เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การจัดเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผู้ชนะการเลือกตั้งในจังหวัดเลย จำนวน 4 คน พร้อมทีมงานหาเสียง จำนวน 12 คน และเจ้าหน้าที่ ของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดเลย จำนวน 4 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ภายหลังการเสือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสร็จสิ้นลง และเก็บข้อมูลที่ได้จากการวิจัยเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง แล้วนำเสนอการวิจัยโดยวิธีพรรณมาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ชนะการเสือกตั้งในจังหวัดเลย มีกลวิธีหาเสียงเลือกตั้ง ดังนี้ (1) กลวิธี หาเสียงแบนเป็นทางการ ได้แก่ การโฆษณาหาเสียงด้วยการคิดป้ายโฆษณา โปสเตอร์ แจกจ่ายแผ่น พับ แผ่นปลิว แนะนำตัวเอง โดยการเน้นชื่อ หมายเลข ผลงานของตนเอง และเครือญาติที่เคยเป็น ส.ส. นำเสนอนโยบายพรรค สร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับตนเอง ใช้รถแห่หาเสียงทุกวันก่อน การเลือกตั้ง 1 เดือน จัดเวทีปราศรัยหาเสียงครอบคลุมพื้นที่เลือกตั้ง เน้นผลงานเดิมของตนเองและ เครือญาติ นำเสนอนโยบายพรรคที่เคยประสบผลสำเร็จ ใช้วิธีเคาะประดูบ้านเพื่อพบปะประชาชน ให้ครบทุกหลังคาเรือน ประชาสัมพันธ์นโยบายพรรคผ่านวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศใทย และ (2) กลวิธีหาเสียงแบบไม่เป็นทางการ ได้แก่ การให้บริการ ช่วยเหลือ อุปถัมถ์ การอำนวยความ สะดวกให้กับประชาชมก่อนการประกาศให้มีการเลือกตั้ง มีการจัดตั้งระบบเครือข่ายหัวคะแนนใน พื้นที่ และหัวคะแนนในพื้นที่ใช้กลวิธีต่าง ๆ เพื่อตัดคะแนนฝ่ายตรงข้ามรวมตั้งการใช้กลวิธีด้าน การเงิน |
รายละเอียด: | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 |
URI: | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/868 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Pol-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Thesbib114931.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.59 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License