กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8692
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จําเนียร ราชแพทยาคม | th_TH |
dc.contributor.author | กวิตา ศรพิชัย | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T08:30:10Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T08:30:10Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8692 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับค่านิยมกรมการ พัฒนาชุมชน (2) ศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของเขตตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชนที่ 6 (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมกรมการพัฒนาชุมชนกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของเขตตรวจ ราชการกรมการพัฒนาชุมชนที่ 6 และ (4) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างค่านิยมกรมการพัฒนา ชุมชนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของเขตตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชนที่ 6 การศึกษานี้ได้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ บุคคลากรที่ปฏิบัติงานเขตตรวจ ราชการกรมการพัฒนาชุมชนที่ 6 จํานวน 418 คน กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 204 คน คํานวณจากสูตรของทาโร ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับค่านิยมกรมการพัฒนาชุมชน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (2) ระดับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของเขตตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชนที่ 6 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านคุณภาพการให้บริการ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (3) ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมกรมการพัฒนาชุมชนกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานพบว่า ค่านิยม 4 ด้านมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลสัมฤทธิ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเข้าใจ ความกล้าหาญ ด้านความคิดสร้างสรรค์ และด้านเอื้ออํานวย และ (4) ข้อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างค่านิยมกรมการพัฒนาชุมชนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน พบว่า ด้านความเข้าใจ ควรคิดให้ง่ายชัดเจน ควรสนับสนุนการนําแนวคิดมาประยุกต์ใช้ ด้านความกล้าหาญ ควรสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดการกล้าคิด กล้าทํา กล้าตัดสินใจ ด้านความคิดสร้างสรรค์ ควรปลูกฝังให้บุคลากรในองค์การเป็นคนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ด้านเอื้ออํานวย ควรเปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้แสดงความคิดเห็น และร่วมกันตัดสินใจ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กรมการพัฒนาชุมชนที่ 6--ข้าราชการ--การทำงาน | th_TH |
dc.subject | ข้าราชการ--การทำงาน | th_TH |
dc.subject | ค่านิยม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมกรมการพัฒนาชุมชนกับผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสังกัดเขตตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชนที่ 6 | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between values oCommunity Development Department and implementation achievement of Office of Inspector General Regional 6 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to: (1) study opinion of personnel regarding values of the Community Development Department; (2) study implementation achievement of Office of Inspector General Regional 6; and (3) study the relationship between values of the Community Development Department and implementation achievement of Office of Inspector General Regional 6; and (4) recommend approaches to promote values of the Community Development Department in order to increase implementation achievement of Office of Inspector General Regional 6. This study was a quantitative research. Population was 418 personnel of the Community Development Department. Sample size was determined by Taro Yamane’s calculation formula and obtained 204 samples. Sampling was stratified random sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and correlation analysis. The results revealed that: (1) an overview image of opinion of personnel regarding values of the Community Development Department was at high level. Empathy aspect was at highest mean; (2) overall level of implementation achievement of Office of Inspector General Regional 6 was at high level. Service quality was at the highest mean; (3) there were 4 aspect that showed positive relationship between values of the Community Development Department and implementation achievement of Office of Inspector General Regional 6 with statistically significance at the level of 05. Ordering from the highest to low were simplify, bravery, creativity, facilitation, respectively; and (4) recommended approaches to promote values of the Community Development Department in order to increase implementation achievement of Office of Inspector General Regional 6 were simplify aspect : there should think clearly and support applied thinking. Bravery aspect, there should create participation to boost thinking, doing and decision making skills. Creativity aspect, there should motivate personnel to the creativity skills.Facilitation aspect, there should give chances to personnel to give opinion and mutual decision making. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
152261.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.46 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License