Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8696
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประจวบจิตร คำจัตุรัสth_TH
dc.contributor.authorสุจิต เชื้อจีน, 2501-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T08:45:50Z-
dc.date.available2023-08-09T08:45:50Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8696en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความรู้และเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมของครู วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครสวรรค์ 2) ศึกษาความรู้และเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมของครูวิทยาศาสตร์ที่มีประสบการณ์ในการสอน ระดับการศึกษา และวิชาเอก-โทที่จบการศึกษาแแตกต่างกัน และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้กับเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมของครูวิทยาศาสตร์ การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง เป็น ครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นที่ทำการสอนในโรงเรียนในโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2539 จำนวน 85 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูล ส่วนตัว แบบสัมภาษณ์เรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม แบบทดสอบวัดความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมซึ่งมี ค่าความเที่ยง 0.77 และแบบวัดเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งมีค่าความเที่ยง 0.93 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว ค่าไค-สแควร์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูวิทยาศาสตร์มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละ 64.04 2. ครูวิทยาศาสตร์มีเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย 3.08 จากมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ 3. ครูวิทยาศาสตร์ที่มีประสบการณ์ในการสอน ระดับการศึกษา วิชาเอก-โทที่จบ การศึกษาต่างกันมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. ครูวิทยาศาสตร์ที่มีประสบการณ์ในการสอน ระดับการศึกษา วิชาเอก-โทที่จบ การศึกษาต่างกันมีเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ความรู้และเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมของครูวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectครูวิทยาศาสตร์--ทัศนคติ.--ไทย--นครสวรรค์th_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.titleการศึกษาความรู้และเจตคติต่อสิ่งแวดล้อม ของครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeStudy of knowledge and attitude towards environment of lower secondary education science teachers under the Office of Nakhon Sawan Provincial Primary Educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to study the knowledge and attitude towards environment of lower secondary education science teachers under the Office of Nakhon Sawan Provincial Primary Education 2) to study the knowledge and attitude towards environment of science teachers with different teaching experiences, educational level and major-minor fields and 3) to study the relationship between knowledge and attitude towards environment of science teachers. The research technique used in this study was survey research. The sample was 85 lower secondary education science teachers under the Office of Nakhon Sawan Provincial Primary Education in second semester, academic year 1996. The instruments were questionnaire, interview form, test on environmental knowledge (reliability = 0.77) and test on attitude towards environment (reliability = 0.93). The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, analysis of variance, Chi-square, and Pearson Product Moment correlation. The results of this study were : 1. The environmental knowledge of science teachers were moderate with average point of 64.04 percent. 2. The attitude towards environment of science teachers were moderate with mean of 3.08 of 5 level scale. 3. The environmental knowledge of science teachers with different teaching experiences, educational level and major-minor fields were not significantly different. 4. The attitude towards environment of science teachers with different teaching experiences, educational level and major-minor fields were significantly different at .05 level. 5. The knowledge and attitude towards environment of science teachers were significantly related at .05 level.en_US
dc.contributor.coadvisorอลิศรา ชูชาติth_TH
dc.contributor.coadvisorลัดดาวัลย์ กัณหสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_50030.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons