Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนลินี ณ นคร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัญญา บุญรักษ์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T02:12:06Z-
dc.date.available2023-08-10T02:12:06Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8704-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้กระทำกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนพรตพิทยพยัต กรุงเทพมหานคร โดยมีจุดประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลการเสริมสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อ การเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว (2) เปรียบเทียบผล การเสริมสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะ แนวและของกลุ่มควบคุมที่ใช้ชุดการให้ข้อสนเทศ และ (3) เปรียบเทียบผลการเสริมสร้างจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบต่อการเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนการทดลองกับในระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 90 คน ของโรงเรียนพรตพิทยพยัต กรุงเทพมหานคร ในปีการศึกษา 2556 ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จากนั้นจึงสุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 45 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบต่อการเรียน จำนวน 14 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที และกลุ่มควบคุมได้รับชุดการให้ข้อสนเทศ จำนวน 14 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที เช่นเดียวกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อ เสริมสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการเรียน (2) ชุดการให้ข้อสนเทศ (3) แบบวัดจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบต่อการเรียน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบความแปรปรวนพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบต่อการเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ของโรงเรียนพรตพิทยพยัต ที่อยู่ในกลุ่มทดลอง มีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการเรียนสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวดังกล่าว อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) จิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการเรียน สูงกว่าของนักเรียนกลุ่ม ควบคุมที่ใช้ชุดการให้ข้อสนเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะ แนวเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการเรียน เป็นระยะเวลา 1 เดือนนักเรียนกลุ่มทดลองมี จิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectความรับผิดชอบทางการศึกษาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยาศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพรตพิทยพยัต กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to reinforce the consciousness and responsibility for learning of Mathayom Suksa I students at Propittayapayat school in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was conducted with Mathayom Suksa I students of Protpittayapayat School in Bangkok Metropolis with the following purposes: (1) to compare the effects of reinforcing consciousness and responsibility for learning of the experimental group students prior to and after using a guidance activities package; (2) to compare the effect of reinforcing consciousness and responsibility for learning of the experimental group students using the guidance activities package with that of the control group students using a set of provided information; and (3) to compare the pre-experiment effect of reinforcing consciousness and responsibility for learning of the experimental group students with their counterpart effect one month after completion of the experiment. The subjects were 90 Mathayom Suksa I students of Protpittayapayat School in Bangkok Metropolis during the 2013 academic year, obtained by cluster sampling. Then they were randomly assigned into an experimental group and a control group each of which comprised 45 students. The experimental group students used a guidance activities package to reinforce the consciousness and responsibility for learning for 14 periods of 60 minutes each; while the control group students were provided with guidance information to study also for 14 periods of 60 minutes each. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to reinforce consciousness and responsibility for learning; (2) a set of provided information; and (3) a scale to assess consciousness and responsibility for learning, developed by the researcher, with 0.99 reliability coefficient. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and multivariate analysis of variance (MANOVA). The research findings were that (1) after using the guidance activities package to reinforce consciousness and responsibility for learning, the scores on consciousness and responsibility for learning of the experimental group students were significantly higher than their pre-experiment counterpart scores at the .01 level;(2) the post-experiment scores on consciousness and responsibility for learning of the experimental group students who used the guidance activities package were significantly higher than the post-experiment counterpart scores of the control group students who used a set of provided information at the .01 level; and (3) one month after the end of the experiment, the scores on consciousness and responsibility for learning of the experimental group students were significantly higher than their preexperiment counterpart scores at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140912.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons