Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8712
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญเลิศ ส่องสว่างth_TH
dc.contributor.advisorวารินทร์ รัศมีพรหมth_TH
dc.contributor.authorณรงค์ นวพงศ์ประพันธ์, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T03:02:54Z-
dc.date.available2023-08-10T03:02:54Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8712en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540th_TH
dc.description.abstractการสอนเรื่องรูปเรขาคณิตและรูปสมมาตร ยังขาดสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ นักเรียนไม่สามารถเรียนรู้ได้ดี เพราะขาดความสนใจและไม่กระตือรือร้นในการเรียน จึงมีความ จำเป็นที่จะต้องพัฒนาชุดการสอนที่มีประสิทธิภาพขึ้นใช้ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนเรื่องรูปเรขาคณิตและรูป สมมาตร กลุ่มวิชาทักษะ (คณิตศาสตร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สร้างขึ้นให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 90/90 (2) ศึกษาความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนที่ เรียนจากชุดการสอน และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอน ผู้วิจัยสร้างชุดการสอนเรื่องรูปเรขาคณิตและรูปสมมาตร จำนวน 6 หน่วย ได้แก่ (1) รูปเรขาคณิต (2) การเขียนรูปเรขาคณิตโดยใช้แบบรูป (3) รูปทรงเรขาคณิต (4) การเปรียบเทียบรูป เรขาคณิตและรูปทรงเรขาคณิต (5) รูปสมมาตร และ (6) การเขียนรูปสมมาตร โดยใช้เนื้อหาตาม หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) กระทรวงศึกษาธิการ พร้อม ทั้งสร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบคู่ขนาน 12 ชุด หลังจากนั้นผู้วิจัยได้นำชุดการ สอนที่สร้างขึ้นไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และภาคสนามซึ่งเป็นนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2538 จำนวน 43 คน ซึ่ง ได้จากการสุ่มอย่างง่าย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ E1E2, t-test, ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ชุดการสอนที่พัฒนาขึ้นทั้ง 6 ชุด มีประสิทธิภาพ 91.00/90.30, 91.65/91.00, 89.65/88.00, 87.50/88.30, 88.15/88.00 และ 87.80/87.70 เป็นไปตามเกณฑ์ 90/90 ที่ กำหนดไว้ ส่วนผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 และนักเรียน มีความคิดเห็นว่าชุดการสอนนี้มีความเหมาะสมในการสอนมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเรขาคณิต--การสอนด้วยอุปกรณ์th_TH
dc.subjectเรขาคณิต--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.titleชุดการสอนเรื่องรูปเรขาคณิตและรูปสมมาตร กลุ่มวิชาทักษะ (คณิตศาสตร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th_TH
dc.title.alternativeInstructional packages on geometric and symmetrical shape in skill cluster (mathematics) for Prathom Suksa Threeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe teaching of fundamental Geometric and Symmetrical Shapes lack quatity instructional media. Consequently, the teaching effectiveness is low and decreased the interest and enthusiasm of the students. It is necessary therefore, to develop instructional packages for this course. The objectives of this study were threefond (1) to develop instructional packages on Geometric and Symmetrical Shapes in the Skill Cluster (Mathematics) for Prathom Suksa III based on the set standard of 90/90, (2) to compare the progress of learning of the students between prior and after learning from the instructional packages, and (3) to servey the students' opinion on insructional packages. A series of six instructional packages were developed on the course contents of Geometric and Symmetrical Shapes according to the 1978 Prathom Suksa (Revised 1990). As part of the study, 12 achievement tests were constructed to serve as parallel pre-tests and post-tests. Thereafter, the six instructional packages were tried out in three steps; individual, group and field test with Prathom Suksa III Nondindeang school, Buriram Province in the academic year 1995. For sampling purpose, 43 students were selected using random technique. Data were statistically analyzed by Ei/E2, t-test, X and S.D .. It was found that the six packages were effective at 91.00/90.30, 91.65/91.00, 89.65/88.00, 87.50/88.30, 87.15/88.00, and 87.80/87.70 respectively meeting the set standard of 90/90. There were statistical significant differences of students' learning achievement between pretest and posttest at the .01 level. The students rated the instructional packages as "very suitable."en_US
dc.contributor.coadvisorวารินทร์ รัศมีพรหมth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_50033.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons