Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสารีพันธุ์ ศุภวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจรีลักษณ์ รัตนาพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิชาติ กันตีวงศ์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T04:14:56Z-
dc.date.available2023-08-10T04:14:56Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8725-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นวิชากีตาร์เบื้องต้น โดยใช้วิธีการสอนที่ให้ผู้เรียนเรียนแบบร่วมมือกับวิธีการสอนแบบปกติ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นต่อการเรียนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นวิชากีตาร์เบื้องต้น ของผู้เรียนที่เรียนแบบร่วมมือ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ผู้เรียนในโรงเรียนดนตรีในจังหวัดลำปางจำนวน 100 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 40 คนได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอนแบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 20 คนกลุ่มควบคุมจำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามความคิดเห็นผู้เรียนที่มีต่อการเรียนแบบร่วมมือ ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือ สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบร่วมมือหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ผู้เรียนที่เรียนแบบร่วมมือมีความพึงพอใจต่อการเรียนแบบร่วมมือในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.383en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectดนตรี -- การศึกษาและการสอน -- ไทย -- ลำปางth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นวิชากีตาร์เบื้องต้น โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือกับการสอนแบบปกติ สำหรับผู้เรียนในโรงเรียนดนตรี ในจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeComparison of learning achievements in the short vocational training program on basic level Guitar as results of using the cooperative learning method and the traditional teaching medthod for learners in the musical school in Lampang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare learning achievements in the Short Vocational Training Program on Basic Level Guitar as results of using the cooperative learning method and the traditional teaching method; (2) to compare the pre-learning and post-learning achievements of learners who learned under the cooperative learning method; and (3) to study the learners’ opinion who learned under the cooperative learning method toward learning in the Short Vocational Training Program on Basic Level Guitar. The research population comprised 100 learners of the Musical School in Lampang province. The research sample consisted of 40 learners obtained by multi-stage sampling. They were randomly divided into an experimental group and a control group, each of which containing 20 learners. The employed research instruments were a learning achievement test, and a questionnaire on learner’s opinions toward the cooperative learning method. Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, t-test, and content analysis. The research findings showed that (1) the learning achievement of learners who learned under the cooperative learning method was significantly higher than the counterpart achievement of learners who learned under the traditional teaching method at the .05 level; (2) the post-learning achievement of learners who learned under the cooperative learning method was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level; and (3) learners who learned under the cooperative learning method were satisfied with their learning at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140934.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons