Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอดุลย์ สินธุสน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T04:15:36Z-
dc.date.available2023-08-10T04:15:36Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8726-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการสินเชื่อ เงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สํานักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดเพชรบุรีและ (2) เปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสํานักงาน การปฏิรูปที่ดินจังหวัดเพชรบุรี จําแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของเกษตรกร การศึกษาครั้งนี้เป็ นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เกษตรกรผู้มาใช้ บริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสํานักงานการปฏิรูปที่ดิน จังหวัด เพชรบุรี และยังมีสถานะเป็ นลูกหนี้ จํานวน 142 รายขนาดกลุ่มตัวอยางคํานวณจากกสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้ 80 ราย สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) เกษตรกรผู้ใช้บริการมีระดับความคิดเห็นต่อคุณภาพการ ให้บริการโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ อยู่ใน ระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านสิ่งอํานวยความสะดวก ด้านความเสมอภาคในการให้บริการ ด้าน กระบวนการให้บริการ และด้านการให้ข้อมูลข่าวสาร และ (2) เกษตรกรผู้ใช้บริการที่มีอายุ ระดับ การศึกษา และรายได้ต่อปี แตกต่างกัน มีความเห็นด้านการให้ข้อมูลข่าวสาร ด้านเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการ และด้านสิ่งอํานวยความสะดวกแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านกระบวนการให้บริการ และด้านความเสมอภาคในการให้บริการ ไม่แตกต่างth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectสินเชื่อ--บริการที่ได้รับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการสินเชื่อเงินกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeService quality of fund for agricultural land reform of Phetchaburi Agricultural Land Reform Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study level of service quality of fund for agricultural land reform of Phetchaburi Agricultural Land Reform Office; and (2) to compare the quality of service on fund for agricultural land reform of Phetchaburi Agricultural Land Reform Office, classified by personal factors of farmers. This study was a survey research. Population was 142 farmers who accessed to the service of fund for agricultural land reform of Phetchaburi Agricultural Land Reform Office and were holding the status of debtors. Sample sized was calculated by Taro Yamane formula and gained 80 samples. Sampling method was accidental sampling. Research instrument was a questionnaire. Statistics for data analysis employed percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. The results of this study showed that: (1) the farmers who accessed to the service rated the overall image of service quality at high level. Considered each aspect, it was found that officers who had worked for customer service was at the highest mean, followed by facility aspect, equity to be of service aspect, process aspect and information giving aspect respectively; and (2) the farmers who were different in age, education level, yearly income gave opinions differently regarding information giving, officers who worked for customer service and facility aspects significantly significance at 0.05 level, whereas service process and equity to be of service aspects were not found differenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153829.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons