Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.advisorพวงเพ็ญ ชุณหปราณ, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.authorจิตรานนท์ โกสีย์รัตนาภิบาล, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-22T10:23:39Z-
dc.date.available2022-08-22T10:23:39Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/873-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลง ของหัวหน้าหอผู้ป่วย (2) ศึกษาวิธีการบริหารความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสกลนคร ประชากรที่ศึกษาคือพยาบาลประจำาการโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดสกลนคร จำานวน 214 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำาการที่ปฎิบติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 178 คน ซึ่งได้จากการ สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง จำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ตอนที่ 2 พฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และตอนที่ 3 การบริหารความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วย ได้ค่าคัชนีความตรงเชิงเนี้อหาของตอนที่ 2 และ 3 เท่ากับ 0.85 และ 0.81 ตามลำตับ ได้ค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคแอลฟาของตอนที่ 2 และตอนที่ 3 เท่ากับ 0.98 และ 0.93 ตามลำตับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ไคสแควร์และสัมประสิทธิ์ของเครเมอร์วี ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสกลนคร ส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 59.55) รองลงมาคือพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงอยู่ใน ระดับปานกลางและระดับตํ่า (ร้อยละ 26.97 และ 13.48 ตามลำดับ) (2) หัวหน้าหอผู้ป่วยเลือกใช้วิธีการบริหาร ความขัดแย้งแบบร่วมมือมากที่สุด รองลงมาได้แก่ วิธีการไกล่เกลี่ย การประนีประนอม การเอาชนะ และ วิธีการหลีกเลี่ยง ตามลำดับ และ (3) พฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการบริหารความขัดแย้งของหัวหน้า หอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง (สัมประสิทธิ์ของเครเมอร์วี=0.304) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.215en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมการบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารความขัดแย้งth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeRelationship between transformational leader behaviors and conflict management of Head Nurses in Community Hospitals, Sakon Nakhon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.215en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to define the transformational Leader behavior level of head nurses, (2) to elaborate conflict management of head nurse; and (3) to examine the relationships between transformational leader behaviors and conflict management of head nurses. Population consisted of 214 staff nurses who worked in patient units of community hospitals in Sakon Nakhon Province. The sample consisted of 178 staff nurses who worked in patient units for more than 1 year. This group was selected based on hospital size by stratified random sampling questionnaires developed by the researcher were used as research tools They consisted of three part: demographic data, transformational leader behaviors, and conflict management.These questionnaires were tested for content validity and reliability The validity of the second and the third parts of the questionnaires were .85 and .81, whereas the Cronbach Alpha reliability coefficients of those two parts were .98 and .93 respectively. Data was analyzed by frequency, percent, mean, standard deviation, the chi-square and Cramer’s V. The major findings were as follows: (1) the majority of transformational leader behaviors displayed by head nurses was rated at the high level; (2) to solve conflict, head nurses managed their conflict by collaborating, accommodating, compromising, competing, and avoiding respectively; and (3) transformational leader behaviors were significantly positively related to conflict management (P < .05 V 0.304)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
102118.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons