Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8744
Title: | ความต้องการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการสอนของอาจารย์และนักศึกษาสังกัดสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ |
Other Titles: | Needs for using social media in instruction of instructors of and students of institute of physical education, Krabi Campus |
Authors: | ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ สุวิชา ปัญญาไข, 2517- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี การสอนด้วยสื่อ สื่อสังคมออนไลน์--การศึกษาและการสอน |
Issue Date: | 2559 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียน การสอนของอาจารย์และนักศึกษาสังกัดสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คืออาจารย์ จํานวน 49 คน และกลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษา ระดับ ปริญญาตรีสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่ ที่กำลังศึกษาในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 จํานวน 286คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามความ ต้องการใช้สื่อสังคม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏวา ่ อาจารย์และนักศึกษามีความต้องการใช้สื่อสังคมออนไลน์โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยข้อที่ได้รับ ค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้านได้แก่ (1) เป้ าหมายของใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการสอนคือ อาจารย์มี เป้ าหมายเพื่อเป็ นเครื่องมือในการสนับสนุนในการเรี ยนรู้และเพื่อพัฒนาการใช้สื่อสังคม และ นักศึกษามีเป้ าหมายเพื่อพัฒนาการใช้สื่อสังคม (2) ประเภทของการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการ สอนคือ อาจารย์และนักศึกษามีการใช้สื่อสังคมประเภทการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล ด้วยเฟซบุ๊ก (3) ลักษณะของใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการสอน พบวา อาจารย์มีลักษณะการใช้สื่อ ่ สังคมในลักษณะสามารถจัดการเนื้อหาการเรียนการสอนได้ และนักศึกษามีลักษณะการใช้สื่อสังคม ในลักษณะสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมย้อนหลังภายนอกห้องเรี ยนได้ และ (4) ความต้องการการ สนับสนุนการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนการสอนจากสถานศึกษาคืออาจารย์มีความต้องการได้รับ บริการของเจ้าหน้าที่ประจําศูนย์ให้คําปรึกษา และนักศึกษามีความต้องการได้รับการสนับสนุนจาก สถานศึกษา อาจารย์และบุคคลรอบข้าง |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8744 |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_153562.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License