Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทกth_TH
dc.contributor.authorเลิศเชาว์ สุทธาพานิช, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T07:32:13Z-
dc.date.available2023-08-10T07:32:13Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8754en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการประเมินคุณภาพบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินคุณภาพการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ (2) ประเมินการจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ (3) จัดกลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิตามผลการประเมินระดับการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ และ (4) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดกลุ่มคุณภาพการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย หัวหน้าหน่วยและผู้ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน 162 คน (2 คน/แห่ง) และผู้รับบริการหน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน 405 คน โดยการเลือกอย่างเจาะจง เครื่องมือในการประเมินมี 2 ชนิด คือ แบบสอบถามการจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ และแบบสอบถามการประเมินคุณภาพการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ การวิเคราะห์ข้อมูลในส่วนของการประเมินคุณภาพบริการและการจัดบริการใช้สถิติเชิงพรรณนา การจัดกลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ วิเคราะห์ด้วยการจัดกลุ่ม และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะหน่วยบริการปฐมภูมิกับผลการจัดกลุ่มคุณภาพบริการของหน่วยบริการ ปฐมภูมิด้วยการวิเคราะห์แบบถดถอยโลจิสติกแบบมัลติโนเมียล ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าคุณภาพบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิมีคุณภาพในระดับมากกว่าความคาดหวัง (2) การจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิในภาพรวมอยู่ในระดับดี (3) การแบ่งกลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิภายในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สามารถแบ่งได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มคุณภาพบริการต่ำ (ร้อยละ 27.16) กลุ่มคุณภาพบริการปานกลาง (ร้อยละ 45.68) และกลุ่มคุณภาพบริการสูง (ร้อยละ 27.16) และ (4) การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการจัดกลุ่มคุณภาพบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ พบว่าการไม่มีระบบไฟฟ้าใช้มีผลต่อคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ กล่าวคือ การไม่มีระบบไฟฟ้าใช้ทำให้หน่วยบริการนั้นมีโอกาสที่จะถูกจัดอยู่ในกลุ่มคุณภาพบริการต่ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.277en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริการทางการแพทย์--การประเมินth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectสาธารณสุข--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินคุณภาพการบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeEvaluation of service quality of primary care units in Prachuap Kiri Khan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was conducted to evaluate the service quality of primary care units in Prachuap Khiri Khan Province. Specifically, its objectives were (1) to evaluate quality of the service of primary care units, (2) to evaluate the provision of service of the primary care units, (3) to classify primary care units into groups that reflect their service quality, and (4) to examine factors affecting the service quality of the primary care units. The research informants consisted of 162 health care personnel including heads of primary care units and health care staff (two personnel from each of the healthcare units), and 405 patients who received services provided by the primary care units, all of which were purposively selected. Instruments of this study included two questionnaires, namely, a questionnaire on service provision of each primary care unit, and a questionnaire on service quality assessment of each primary care unit. The descriptive statistics were employed to analyze the service quality and the service provision of the primary care units. Cluster analysis was used to classify primary care units into distinct groups. Multinomial logistic regression was applied to determine the relationship between characteristics of primary care units and the identified groups of the primary care units from cluster analysis. The research findings showed that (1) the majority of service recipients had opinions that quality of the services provided by the primary care units was higher than their expectation; (2) the overall service provided by the primary care units was at the good level; (3) primary care units in Prachuap Khiri Khan Province could be classified based on their performance into three distinct groups, namely, the low service quality group (27.16 per cent), the medium service quality group (45.68 per cent), and the high service quality group (27.16 per cent); and (4) the findings on factors affecting group classification of the primary care units revealed that the factor affecting service quality was the availability of electricity, that is, units without electricity had more chance of being classified into the low service quality group.en_US
dc.contributor.coadvisorกาญจนา วัธนสุนทรth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143319.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons