Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.authorเบญจพร ปิยสิริวัฒน์, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-22T16:19:12Z-
dc.date.available2022-08-22T16:19:12Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/875-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยค้ำจุนปัจจัยจูงใจและ สมรรถนะภาพของพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยค้ำจุนและปัจจัยจูงใจกับ สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน และ (3) อิทธิพลของปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลชุมชน เขต 2 กระทรวงสาธารณสุข ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ พยาบาลวิชาชีพซึ่งปฏิบัติงานในงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ของ โรงพยาบาลชุมชน เขต 2 กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 328 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่มีค่า ความเที่ยงด้านปัจจัยค้ำจุน ปัจจัยจูงใจ สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน เท่ากับ 0.82,0.91 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสถิติการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยค้ำจุนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางปัจจัยจูงใจโดยรวมอยู่ใน ระดับสูง สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โดยรวมอยู่ในระด้บสูง (2) ปัจจัยคำจุนและ ปัจจัยจูงใจทั้งโดยรวมและรายด้าน มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ใน ทางบวก ที่ระคับความมีนัยสำคัญทางสถิติ .01 และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลสามารถร่วมกันพยากรณ์สมรรถนะ พยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน ที่ระคับความมีนัยสำคัญทางสถิติ .01 คือ ความรับผิดชอบ การได้รับ การยอมรับ สภาพการทำงาน ลักษณะงาน โดยร่วมกันอธิบายสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลชุมชน เขต 2 กระทรวงสาธารณสุข ได้ร้อยละ 53.20 ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าควร สนับสนุนให้มีการเพิ่มสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ด้านวิชาการ ตลอดจนเพิ่มปัจจัยคํ้าจุน ด้านเงินเดือน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เพื่อส่งผลต่อการเพิ่มสมรรถนะสูงขึ้นและเพื่อคุณภาพการบริการ พยาบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.format.extent[ก]-ฏ, 149 แผ่น-
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการพยาบาลฉุกเฉิน-
dc.subjectการพยาบาลฉุกเฉิน-
dc.subjectพยาบาล-
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงาน-
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ งานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลชุมชน เขต 2 กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeInfluential factors in professional nurses' competencies in the emergency department at Community Hospitals in Region 2, the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.degree.grantorสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์-
dc.description.abstractalternativeThe Purpose of this research were: (l)to study hygiene factors, motivation factors and competencies of professional nurses; (2) to examine the relationship between hygiene factors, motivation factors, and competencies of professional emergency nurses; and (3) to identify influential factors (hygiene factors and motivation factors) in the competencies of professional emergency nurses at community in Region 2, the Ministry of Public Health. The research population was 328 professional working in the Emergency Department Questionnaires were used for collecting data and consisted of three sections: hygiene factors, motivation factors, and competencies of professional nurses These questionnaires were tested for content validity and reliability. The Cronbach Alpha reliability coefficients of those three sections were 0.82, 0.91 and 0.98 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics (frequency, percentage,mean and standard deviation), Pearson’s Product Moment Correlation and stepwise multiple regression analysis. The results of the study were as follows. (1) Professional nurses rated as follows: (a) at the high level on both the motivation factors and their competencies and (b) at the medium level on the hygiene factors (2) Two factors: (a) the hygiene factor and (b) the motivation factor correlated significantly with their competencies (p<.01). Finally, (3) Co-factors (responsibility, recognition and work attribution) predicted their competencies. These predictors accounted for 53.20% (R2 = .532). As a result, professional nurses should improve their academic competencies. In addition to hygiene factors, their salaries be increased, and their benefits should be improved so as to accelerate their competencies as well as the quality of nursing serviceen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
102150.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons