Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8763
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุขอรุณ วงษ์ทิม | th_TH |
dc.contributor.author | พรสวรรค์ ภัทรบรรพต, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-10T08:24:21Z | - |
dc.date.available | 2023-08-10T08:24:21Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8763 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ศึกษากับเด็กกลุ่มด้อยโอกาสในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 23 จังหวัดพิษณุโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะชีวิตของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และ (2) เปรียบเทียบทักษะชีวิตของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต กับของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวตามปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป็นนักเรียนซึ่งเป็นเด็กกลุ่มด้อยโอกาสในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 23 จังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2556 จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ส่วนกลุ่มควบคุมใช้กิจกรรมแนะแนวปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมแนะแนวปกติ และแบบวัดทักษะชีวิต ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตมีทักษะชีวิตหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต มีทักษะชีวิตสูงกว่าของกลุ่มควบคุมที่ได้ใช้กิจกรรมแนะแนวตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--เครื่องมือ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในกลุ่มเด็กด้อยโอกาสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 23 จังหวัดพิษณุโลก | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using a guidance activities package based to develop life skills in disadvantaged children group of Mathayom Suksa I students at Rajaprajanugroh 23 School in Phitsanulok Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was conducted with the disadvantaged children group of Mathayom Suksa I students at Rajaprajanugroh 23 School in Phitsanulok province with the following purposes: (1) to compare the life skills of the experimental group students before and after using a guidance activities package to develop life skills; (2) to compare the life skills of the experimental group students who used a guidance activities package to develop life skills with that of the control group students who used conventional guidance activities. The subjects of this study were 30 Mathayom Suksa I students who were disadvantaged children at Rajaprajanugroh 23 School in Phitsanulok province during the 2013 academic year, obtained by cluster sampling. Then, they were randomly divided into an experimental group and a control group each of which consisting of 15 students. The experimental group students used a guidance activities package to develop life skills; while the control group students used conventional guidance activities. The employed research instruments were a guidance activities package to develop life skills, conventional guidance activities, and a scale to assess life skills, with reliability coefficient of .96. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: (1) the post-experiment life skills of the disadvantaged children group of Mathayom Suksa I students at Rajaprajanugroh 23School, who used the guidance activities package to develop life skills, were significantly higher than their pre-experiment counterpart skills at the .01 level; and (2) the life skills of the experimental group students who used the guidance activities package to develop life skills were significantly higher than the counterpart skills of the control group students who used conventional guidance activities at the .01 level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิรนาท แสนสา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
143336.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License