Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพัตรา เขียวหวาน, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-10T08:35:22Z-
dc.date.available2023-08-10T08:35:22Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8764-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้กระทำกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะการรู้สารสนเทศ ของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลัง การใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ และ (2) เปรียบเทียบทักษะการรู้ สารสนเทศของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศและ ของกลุ่มควบคุมที่ได้รับข้อสนเทศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดเขมาภิรตา ราม จังหวัดนนทบุรี จำนวน 80 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง แล้วสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 40 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะ การรู้สารสนเทศ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับโปรแกรมการให้ข้อสนเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ (2) แบบทดสอบทักษะ การรู้สารสนเทศมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .74 และ (3) โปรแกรมการให้ข้อสนเทศ สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรม แนะแนวมีทักษะการรู้สารสนเทศ สูงกว่าทักษะดังกล่าวก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 และ (2) ภายหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวมีทักษะการรู้ สารสนเทศสูงกว่าทักษะดังกล่าวของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับข้อสนเทศ อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.423en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการรู้สารสนเทศ -- การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- นนทบุรีth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop information literacy skills of Mathayom Suksa I students of Khemapirataram School in Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was conducted with Mathayom Suksa I students of Khemapirataram School with the following objectives: (1) to compare information literacy skills of the experimental group students before and after using a guidance activities package to develop information literacy skills; and (2) to compare information literacy skills of the experimental group students who used the guidance activities package to develop information literacy skills with the counterpart skills of the control group students who received an information program. The sample of 80 Mathayom Suksa I students was purposively selected from Khemapirataram School in Nonthaburi province. The sample was randomly assigned into the experimental group and the control group each of which comprised 40 students. The experimental group students used a guidance activities package to develop information literacy skills, while the control group students received an information program. The employed research instruments comprised (1) a guidance activities package to develop information literacy skills; (2) a test on information literacy skills, with reliability coefficient of .74; and (3) an information program. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The findings of this study were (1) the post-experiment information literacy skills of the experimental group students who used the guidance activities package were significantly higher than their pre-experiment counterpart skills at the .01 level; and (2) the post-experiment information literacy skills of the experimental group students who used the guidance activities package were significantly higher than the post-experiment counterpart skills of the control group students who received an information program at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143729.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons