Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.advisorนวลขนิษฐ์ ลิขิตลือชา, อาจารย์ที่ปรึกษา-
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิสมัย รวมจิตร, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-22T16:33:46Z-
dc.date.available2022-08-22T16:33:46Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/876-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์สภาพการณ์และ ความต้องการในการพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล โรงพยาบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล โรงพยาบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย กลุ่มประชากรเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย ผู้นิเทศทางการพยาบาล จำนวน 8 คน และผู้รับการนิเทศทางการ พยาบาล จำนวน 14 คน รวมตัวอย่างทั้งหมด 22 คน เครื่องมือที่ใชัในการวิจัยมี 2 ชุด คือ (1) แบบ วิเคราะห์สภาพการณ์และความต้องการในการพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล และ (2) แบบ ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงของ เนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน มีค่าเท่ากับ .94 และ .98 ตามลำดับ การเก็บรวบรวมข้อมูลเชิง คุณภาพโดยการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใชัการวิเคราะห์เนี้อหา ผลการวิจัยพบว่า ดังนี้ (1) โรงพยาบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ยังไม่มีรูปแบบการนิเทศ ทางการพยาบาลที่ชัดเจน ผู้นิเทศบางส่วนยังขาดความรู้และประสบการณ์ ขาดการเตรียมความพร้อม ผู้ร้บการนิเทศ ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศ กระบวนการนิเทศ ยังไม่มีแผนการนิเทศ ขาด ความสมํ่าเสมอ เวลานิเทศไม่เหมาะสม ขาดการติดตามประเมินผล และพบว่าบุคลากรต้องการรูปแบบ การนิเทศทางการพยาบาลที่ประกอบด้วยทีมนิเทศ มีแผนการนิเทศชัดเจน และการนิเทศแบบกัลยาณมิตร (2) รูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 10 ขั้นตอน คือ (ก) เตรียมโครงสร้าง (ข) ตั้งทีมนิเทศ (ค) เตรียมความพร้อม (ง) ล้อมวงวางแผน (จ) แถลงแผนการ (ฉ) ดำเนินการแบบ กัลยาณมิตร (ช) พิชิตด้วยสื่อสาร (ช) ติดตามประเมินผล (ณ) เชื่อมโยงบันทึก และ (ญ) มุ่งสู่จุดมุ่งหมาย รูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม และสามารถนำไปใช้ในการในการนิเทศทางการพยาบาล โรงพยาบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงรายได้ ข้อเสนอแนะในการนำรูปแบบนิเทศทางการพยาบาลที่ พัฒนาขึ้นไปใช้ในโรงพยาบาลชุมชนอื่นต้องคำนึงถึงความเหมาะสมของบริบท และต้องมีการเตรียม ความพร้อมของผู้นิเทศทางการพยาบาลเป็นอย่างดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.format.extent[ก]-ฌ, 138 แผ่น-
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.331en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาลth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล โรงพยาบาลเวียงแก่น จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a nursing supervision model in Wiang Kan Hospital, Chiang Rai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.331en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.degree.grantorสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: (I) to analyze situations and needs for development of appropriate nursing supervision and (2) to develop a new nursing supervision model. The subjects of this research were eight professional nurses who were executive committee members and fourteen professional nurses who worked at various nursing service departments in Wiang Kan Hospital, Chiang Rai Province Thailand. Two research tools were used: (1) situations and needs analysis form for development of suitable nursing supervision and (2) the evaluation form for the nursing supervision model. The content validity of these tools was verified and they were 0.94. and 0.98 respectively. The focus group interviews were used for collecting data. Record tapes were transcribed and then analyzed to elicit key ideas and themes by using content analysis. The results of this research showed that (a) the current nursing supervision model of the Nursing Department in Wiang Kan hospital, Chiang Rai province was not explicit, and some of the nursing supervisors had inadequate knowledge and experience in their jobs. The nursing supervisees also had insufficient knowledge and understand about the supervision. The plan, time, and evaluation of the nursing supervision process were deficient. Nursing staffs expressed the opinion that they needed a new nursing supervision model which should consist of a nursing supervision team, explicit and strict plan, and friendly and supportive (Kanlayanamit) supervision, (b) The nursing supervision model was composed often steps: (I) construct the framework, (2) build up supervision team, (3) prepare supervisors and supervisees. (4) plan the supervision by all parties, (5) announce the plan, (6) do friendly and supportive supervision, (7) communicate effectively, (8) evaluative continuously, (9) record documents, and (10) lead to the supervision goals. (c) The new nursing supervision model was suitable for Wiang Kan Hospital. Finally, the model may be used in other hospital but it should be done in a sensitive wayen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
102151.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons