Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8798
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยาณี กิตติจิตต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชไมพร ผาดศรี, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-11T07:08:30Z-
dc.date.available2023-08-11T07:08:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8798-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของประชาชนที่ตัดสินใจซื้อ โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบสมาร์ทโฟนในเขตคันนายาว และ (2) ศึกษาปัจจัยทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อ โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบสมาร์ทโฟนของประชาชน ในเขตคันนายาว ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเชิงสำรวจ เป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตคันนายาว จำนวนทั้งสี้น 87, 169 คน ใช้หลักการคำนวณของยามาเน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 400 ตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใซ้เป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ลักษณะส่วนบุคคลของประชาชนที่ตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ สมาร์ทโฟนในเขตคันนายาว ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20-25ปี เป็นโสด ศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า15,000 บาท (2) ปัจจัยทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบสมาร์ทโฟนของประชาชน ในเขตคันนายาว มี 7 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านภาพลักษณ์และด้านประโยชน์ เพื่อพิจารณาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยทั้ง 7 ด้านในภาพรวม พบว่า มีความเห็นด้วยว่า ปัจจัยทั้ง 7 ด้าน มีผลต่อการตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบสมาร์ทโฟน และเพื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ความคิดเห็นที่อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยี่ง ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านส่งเสริมการตลาด และด้านประโยชน์ ส่วนความคิดเห็นที่อยู่ใน ระดับเห็นด้วยไต้แก่ ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านบุคลากร และด้านภาพลักษณ์ ส่วนปัจจัยย่อยของ ปัจจัยแต่ละด้านที่เป็นความคิดเห็นลำดับแรกของการตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบสมาร์ทโฟน คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ซื้อเพราะตรายี่ห้อที่ได้รับความนิยม ด้านราคา ซื้อเพราะอัตราค่าธรรมเนียมในการใช้บริการ อินเทอร์เน็ตบนโทรศัพท์ไม่สูงเกินไป ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ซื้อเพราะสามารถชำระผ่านบัตรเครดิตไต้ ด้านการส่งเสริมการตลาด ซื้อเพราะโปรโมชั่นในการใช้บริการอินเทอร์เน็ตบนโทรศัพท์มีให้เลือกหลากหลาย ด้านบุคลากร ซื้อเพราะพนักงานขายมีความรู้ ความเข้าใจในการให้คำแนะนำ และสามารถตอบปัญหาได้ ด้านภาพลักษณ์ ซื้อเพราะบริษัทผู้ผลิตโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบสมาร์ทโฟน มีเครือข่ายครอบคลุมทุกพื้นที่ และด้านประโยชน์ ซื้อเพราะสามารถรับ-ส่งข้อมูลต่างๆ ผ่านระบบไร้สายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสมาร์ทโฟน--การจัดซื้อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบสมาร์ทโฟนของประชาชน ในเขตคันนายาวth_TH
dc.title.alternativeMarketing factors affecting buying decision of smart phones of people in Khan Na Yao Districten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study personal characteristics of people in Khan Na Yao district buying smart phones; and (2) to study marketing factors affecting buying decision of smart phones of people in Khan Na Yao district. The population was 87,169 people in Khan Na Yao district. The sample consisted of 400 people selected by using Yamane’s formula and convenience sampling method. The questionnaire was used for data collection. The data was analyzed by using the descriptive statistic: frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results showed that (1) most of people in Khan Na Yao district buying smart phones were female, aged 20 -25, single, bachelor’s degree, and income less than 15,000 THB; and (2) there were 7 marketing factors affecting buying decision of smart phones of people in Khan Na Yao district: product, price, place, promotion, people, image, and benefit. Overall people thought that 7 marketing factors had affected buying decision of smart phones of people in Khan Na Yao district. The factors rated on the strongly agree level were product, price, promotion, and benefit while the factors rated on the agree level were place, people, and image. The first sub factors affecting buying decision of smart phones were the popularity of product’s brand, an inexpensive charge of internet connection, payment via credit cards, many promotions of providing internet, the knowledgeable staff, the wide coverage of telephone network, and the connection via wireless networks.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
136675.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons