กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8819
ชื่อเรื่อง: การจัดการสินเชื่อของธนาคารออมสินในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Credit management of Government Saving Bank in Pranakonsriayutthaya Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: กัลยาณี ภาคอัต, อาจารย์ที่ปรึกษา
สยาม ยิ่งทวีหยก, 2515-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
ธนาคารออมสิน--การบริหาร
สินเชื่อ--การจัดการ
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระใน ครั้งนี้ มุ่งศึกษาการจัดการสินเชื่อธุรกิจของธนาคารออมสิน ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษานโยบายสินเชื่อของธนาคารออมสิน (2) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการสินเชื่อธุรกิงของ ธนาคารออมสินในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (3) ระบุสาเหตุและปัญหาที่เกิดจากการให้สินเชื่อธุรกิจ ของ ธนาคารออมสินในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิประกอบไปล้วย นโยบายสินเชื่อ ของธนาคารอมสิน แผนวิสาหกิจของธนาคารออมสิน ข้อมูลยอดคงเหลือสินเชื่อธุรกิจของ ธนาคารออมสินในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและข้อมูลหนี้ค้างชำระสินเชื่อธุรกิง 3 เดือนขึ้นไป ของธนาคารออมสินในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ ไตรมาส 4/48 1/49 2/49 3/49 4/49 ผลการศึกษาพบว่า (1) การจัดการสินเชื่อธุรกิจของธนาการออมสินในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา อยู่ภายใต้นโยบายสินเชื่อของธนาการออมสิน (2) ธนาคารออมสินในจังหวัด พระนครศรีอยุธยาใช้หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์สินเชื่อ มี 2 หลักเกณฑ์ คือ วิธีวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เป็นการนำช้อมูลเกี่ยวกับ ประวัติของผู้กู้ ความสามารถในการหารายได้ เงินทุน หลักประกัน เศรษฐกิจ และวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ เป็นการนำช้อมูลที่เกี่ยวกับงบการเงินของลูกค้า มา คำเนินการวิเคราะห์เพื่อทำให้สามารถทราบได้ว่า ลูกค้ามีฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ หนี้สิน กำไร มีผลการคำเนินงานที่ผ่านมาในรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง ๆ (3) สาเหตุปัญหาและอุปสรรคในการ ให้สินเชื่อ คือ ความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจ นโยบายรัฐบาล พฤติกรรม สู้บริโภค เทคโนโลยี ภัยธรรมชาติ ความเสี่ยงจากปัจจัยภายใน ได้แก่ พฤติกรรมถูกหนี้ที่ทำ การค้าเกินตัว การเปลี่ยนแปลงผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น พฤติกร รมของผู้บริหาร และจากสถาบันการเงิน ได้แก่ พนักงานสินเชื่อ ผู้บริหาร ขั้นตอนการคำเนินงานของสถาบันการเงิน สำหรับ ข้อเสพอแนะ ในการจัคการสินเชื่อของธนาคารออมสิน ควรที่จะมีการปรับปรุงพัฒนาการในค้านต่อไปนี้ ได้แก่ การอบรมส่งเตริมความรู้ให้แก่พนักงาน การปรับรูปแบบโครงสร้างองค์กร การพัฒพาระบบ สารสนเทศ และการกำหนควิธีการบริหารความเสี่ยง
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8819
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
112562.pdf3.16 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons