Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8845
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอมรรัตน์ ปรีชา, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T03:34:35Z-
dc.date.available2023-08-15T03:34:35Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8845-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (2) ปัญหาในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ประชากร ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนสามัญในสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ข้าราชการพลเรือนสามัญประเภททั่วไปและประเภทวิชาการ จำนวน 242 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 150 คน เทียบจากตารางของเครชชีและมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็น แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบสะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเห็นว่าระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงานมีความเหมาะสม โดยเห็นด้วยกับหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการมากที่สุด รองลงมาคือ การแจ้งผลการประเมินการปฏิบัติราชการ (2) ปัญหาในการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ได้แก่ การแจ้งผลการประเมินมีความล่าช้า และผู้ประเมินมักประเมินที่ตัวบุคคลมากกว่าผลการปฏิบัติราชการ (3) ข้อเสนอแนะสำคัญ ได้แก่ ควรจัดอบรม/สัมมนา ให้ความรู้เกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการแก่ผู้ประเมินและผู้รับ การประเมินรวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องอยางทั่วถึง กำหนดให้มีแบบฟอร์มเฉพาะสำหรับงานแต่ละประเภท และไม่ควรมีจำนวนมากเกินไป รวมถึงควรกำหนดระยะเวลาในการแจ้งผลการประเมินให้มีความเหมาะสม และกำหนดให้มีหน่วยงานภายในทำหน้าที่รับเรื่องราวร้องทุกข์เกี่ยวกับผลการประเมินการปฏิบัติราชการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกระทรวงแรงงาน. สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน --ข้าราชการ--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการประเมินผลงานth_TH
dc.subjectการสำรวจทัศนคติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงานth_TH
dc.title.alternativeOfficial opinion on performance appraisal system of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labouren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aimed to: (1) study personnel opinions on the performance appraisal system of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labour; (2) investigate the problems associated with the performance appraisal system of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labour; and (3) recommend ways to improve the performance appraisal system of the Office of the Permanent Secretary , Ministry of Labour. Population consisted of 242 civil servants in common category of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Labour, which included general and academic staff, from which 150 samples were obtained via Krejcie and Morgan’s table. Instrument used was questionnaire. Convenient random sampling was applied. Descriptive statistical tools employed were frequency, percentage, mean and standard deviation. The results were as follows: (1) samples agreed that the performance appraisal system was suitable, with highest mean on criteria of performance appraisal, next on feedback of the appraisal result; (2) problems included the delay of appraisal results, and that the appraisers placed great emphasis on individual matters, rather than their performance; (3) recommendations were: training should be provided to both the appraisers and those appraised on the performance appraisal system employed, specific appraisal forms should be used for each sections, with limited types of forms, feedback of appraisal result should be given in scheduled and appropriate time, moreover, performance appraisal complaint centre within the organization should be appointeden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_143489.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons