Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลักษมี พันธุ์ธนโสภณ, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T03:47:40Z-
dc.date.available2023-08-15T03:47:40Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8848-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาพลักษณ์การท่องเที่ยวอําเภอ เขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ์และ (2) เปรียบเทียบภาพลักษณะการท่องเที่ยวอําเภอเขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากร คือ นักท่องเที่ยวที่เคยมาท้องเที่ยวที่ อําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ จํานวน 1,792,327 คน กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการ คํานวณของทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้จํานวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการ เก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20-30 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี อาศัยอยู่ในเขตภาคกลาง ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน มีรายได้ เฉลี่ยมากกว่า 40,000 บาท มีวัตถุประสงค์ท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อน โดยเขาเยี่ยมชมสักการะวัดพระธาตุ ผาซอนแก้ว และนิยมซื้อมะขามหวานเป็นของฝาก (1) นักท่องเที่ยวมีระดับความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวอําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านสิ่งดึงดูดใจอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านที่พัก และด้านการคมนาคมขนส่ง และ (2) นักท่องเที่ยวที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ การศึกษา ต่างกันมีความคิดเห็นต่อภาพลักษณ การทองเที่ยวอําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ไมแตกต่างกัน และปัจจัยส่วนบุคคลด้านภูมิลําเนา อาชีพ รายได้ต่อเดือน วัตถุประสงค์การท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยว และประเภทของฝาก ต่างกัน มี ความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวอําเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเขาค้อ (เพชรบูรณ์)--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยวth_TH
dc.titleภาพลักษณ์การท่องเที่ยวอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ในมุมมองของนักท่องเที่ยวth_TH
dc.title.alternativeImage of Khao Kho Petchaboon tourism in the view of the victorsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research objective was: (1) to study the tourism image of Khao Kho Petchaboon; and (2) to compare the tourism image of Khao Kho Petchaboon such as attraction, accessibility, amenity, accommodation by demographic factors. This study was a survey research. There was 400 sample size by using Taro Yamane formula, with 95 % confidenceinterval. The research instrument was questionnaire. The sample was collected by convenient sampling. The statistic analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, Independent sample t-Test, analysis of variance (One way ANOVA). The research found that: mostly respondents are female tourists, age between 20-30 years of graduate-level. They live in the central factors of region. They are the private employees with the average income of 40,000 baht. Their main objective was to leisure especially, most popular place is the sacred Wat Pha hidden glass. (1) Tourists hold their opinions of Khao Kho image with high level in every aspects. The highest opinion was the attraction, the accommodation and transport, consecutively; and (2) the tourists with different sex, age or education hold different opinion of Khao Kho tourism image Petchaboon. The tourist hometown, occupation, monthly income, travel objectives, tourist place and bought souvenirs were difference on their opinions toward Khao Kho tourism image Petchaboon with 0.05 statistical significnceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_150229.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons