Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวีระพันธ์ รื่นเริงกาล, 2493-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T04:02:35Z-
dc.date.available2023-08-15T04:02:35Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8849-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการตลาดฟู้ดวิลล่า ราชพฤกษ์ (2) ระดับความสําคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่มีต่อการใช้ บริการของลูกค้าตลาดฟู้ดวิลล่า ราชพฤกษ์ (3) ลักษณะการใช้บริการของลูกค้าตลาดฟู้ดวิลล่า ราชพฤกษ์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรคือ ผู้ใช้บริ การตลาดฟู้ดวิลล่า ราชพฤกษ์ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร ไม่ทราบจํานวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดตัวอย่าง โดยใช้ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้จํานวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบระบบ การเก็บ รวบรวมข้อมูลใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 25 - 34 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว มีถิ่นที่อยูคือ แขวงตลิ่งชัน และ มีรายได้เฉลี่ย 10,001 – 30,000 บาทต่อเดือน (2) ระดับความสําคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาด บริการที่มีต่อการใช้บริการโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (3) ลักษณะการใช้บริการของ ลูกค้าตลาดฟู้ดวิลล่า ราชพฤกษ์ ประเภทสินค้าที่ซื้อส่วนใหญ่เป็นสินค้าอาหารสด โดยมีความถี่ ในการใช้บริการ 1 ครั้งต่อเดือน ช่วงวันที่มาใช้บริการคือวันเสาร์ – อาทิตย์ อยู่ในช่วงเวลา 13.01 – 17.00 น. โดยใช้ระยะเวลา 1 ชั่วโมงในการเลือกซื้อ ยอดเงินที่จ่ายต่อครั้งตํ่ากว่า 1,000 บาท โดยชําระด้วยเงินสด และระยะเวลาของการเป็นลูกค้าน้อยกวา 1 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่มีต่อการใช้บริการของลูกค้าตลาดฟู้ดวิลล่า ราชพฤกษ์ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeService marketing mix factors toward service use of food Villa Ratchaphruek's customers, Talingchan District, Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study: (1) the personal characteristics of Food Villa Ratchaphruek’s customers; (2) the significant level of service marketing mix factors toward service use of Food Villa Ratchaprhuek’s customers; and (3) the service-use patterns of Food Villa Ratchaphruek’ s customers. This study was a survey research. Population was the customers of Food Villa Ratchaphruek, Taling Chan District, Bangkok. The population was infinite. Sample size was calculated by using a level of confidence at 95 percent in order to obtain 400 samples. The sampling method was systematic sampling. Questionnaires were used as instruments for data collection. Descriptive statistics was applied for data analysis including percentage, mean and standard deviation. The result showed that: (1) the majority of respondents was male, aged 25- 34 years old with Bachelor Degree, lived in Taling Chan District, had their owned business with average monthly income of 10,001-30,000 baht. (2) The significant level of overall and each of service marketing mix factors toward service use were at a high level. (3) The service-use patterns of Food Villa Ratchapruek’s customers were that most of the purchased product was fresh food. The service-use frequency was once a month. Visiting duration was Saturday-Sunday at 1:01-5:00 pm for one hour purchasing. Payment per visit was less than 1,000 baht by cash, and customary period was less than one yearen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_150949.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons