Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8851
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีราภรณ์ สุธัมมสภา | th_TH |
dc.contributor.author | เหมือนฝัน วงศ์สุนทรเกษม | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T04:15:03Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T04:15:03Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8851 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) กระบวนการก่อนการขอรับรองระหว่างการดําเนินการขอรับรอง และหลังการได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 15189:2012 และ (2) การจัดทําต้นแบบการจัดการคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 15189:2012 ของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเปาโล พหลโยธินวิธีการศึกษาประกอบด้วยขั้นตอนที่หนึ่ง ทําการวิเคราะห์จากข้อมูลเอกสารและวิธีการตามกระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนการขอรับรองระหว่างการดําเนินการขอรับรอง และหลังการได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 15189:2012 ขั้นตอนที่สอง ทําการสังเคราะห์ปัจจัยสําคัญที่ทําให้ได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 15189:2012 ผลการศึกษาพบว่า (1) กระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนการขอรับรองประกอบด้วย การจัดองค์กรการจัดทําคู่มือเอกสารการประกาศ ทบทวนการตรวจวิเคราะห์การควบคุมภายในการบํารุงรักษา บุคลากร การประเมินผล การทบทวนฝ่ายบริหาร กระบวนการระหว่างการดําเนินการขอรับรองประกอบด้วยการเตรียมความพร้อมเพิ่มเติม การตรวจประเมินเบื้องต้น การตรวจประเมินจริงกระบวนการหลังการได้รับการรับรองประกอบด้วยการธํารงรักษาคุณภาพ และ (2) ต้นแบบการจัดการคุณภาพจําแนกตามกระบวนการขอรับรองประกอบด้วย กระบวนการก่อนการขอรับรองปัจจัยสําคัญคือการสนับสนุนจากผู้นําสูงสุด ความมุ่งมั่นของหัวหน้าหน่วยงาน ความ พร้อมของบุคลากรและทรัพยากร กระบวนการระหว่างการดําเนินการขอรับรองปัจจัยสําคัญคือ การเตรียมความพร้อมเพิ่มเติมด้านความปลอดภัย และบุคลากรที่จะคอยตอบคําถามและเป็นผู้มีความรู้ความชํานาญในงานที่ปฏิบัติกระบวนการหลังการได้รับการรับรองปัจจัยสําคัญคือ การธํารงรักษาคุณภาพ บุคลากรทุกคนต้องปฏิบัติงานประจําในทุกขั้นตอนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์--มาตรฐาน | th_TH |
dc.title | การพัฒนาต้นแบบการจัดการคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 15189:2012 ของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ กรณีศึกษา โรงพยาบาลเปาโล พหลโยธิน | th_TH |
dc.title.alternative | Development of the prototype for quality management according standard ISO 15189:2012 of medical laboratory a case study Paolo Phaholyothin Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to: (1) study pre accreditation, during accreditation and post accreditation processing according Standard ISO 15189:2012; and (2) do the prototype for quality management according requirements of Standard ISO 15189:2012 of Medical Laboratory: A case study Paolo Phaholyothin Hospital. The study method consists of data analysis and the preparation process of pre accreditation, during accreditation and post accreditation according Standard ISO 15189:2012. Synthesis of key factors for Achieving ISO 15189: 2012 Quality Certification. The results showed that: (1) the pre accreditation process consisted of organizing, document preparation, publishing, analytical review, internal control, maintenance, evaluation personnel availability, management review, application for certification. The process during the accreditation includes additional preparation, Initial assessment, real assessment, applying the certification mark and keeping quality. (2) Prototype for quality management classified by the application process consisted of the pre accreditation process, the key factor is support from top leaders, commitment of the head of the agency, availability of personnel and supported resources. The during accreditation process, the key factor is preparation of additional safety and the staff who would answer the question should be qualified. The key factor of the process after the accreditation process is keeping quality. All personnel must perform the routine work at all stages to meet the quality standards. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
154991.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License