Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8862
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | เสาดะ แขวงดำ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T06:57:06Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T06:57:06Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8862 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ จําแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมเจรจาการค้าระหวางประเทศ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรของกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ จํานวน 243 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้จํานวนทั้งสิ้น 152 คน ตามสูตรทาโร ยามาเน่โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลี่ยเลขคณิต การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียวและการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสําคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) บุคลากรกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่ มี เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระดับรายได้ต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ และตําแหน่งงาน ที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีอายุแตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกันอย่าง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) แนวทางการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศคือ ผู้บริหารควรเร่งดําเนินการให้บุคลากรมีความ ภาคภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งขอองค์การ เนื่องจากบุคลากรมีความผูกพันต่อองค์การในด้านนี้น้อยที่สุดโดยการเปิดโอกาสให้บุคลากรมีอิสระในการคิดและแสดงความรู้ความสามารถได้อย่างเต็มที่เพื่อสร้างคุณค่าให้กับตนเอง และควรกระจายงานที่สําคัญให้ทุกคนเท่าเทียมกันเพื่อความรู้สึกถึงการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ | th_TH |
dc.title.alternative | Organizational commitment of personnel at the Department of Trade Negotiations | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were: (1) to study the level of organizational commitment of employees of the Department of Trade Negotiations; (2) to compare the organizational commitment of employees of the Department of Trade Negotiations; and (3) to recommend a guideline to enhance organizational commitment of employees at the Department of Trade Negotiations. The population of this survey research consisted of 243 personnel of the Department of Trade Negotiations. The sample size of 152 personnel was calculated by Taro Yamane formula and based on stratified random sampling method. Questionnaires were used in data collection process with reliability value of 0.98. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, standard deviation, arithmetic mean, t-test (Independent Sample t-test), F-test (One-way ANOVA) and least significant difference (LSD). The study results revealed that (1) the overall organizational commitment of personnel at the Department of Trade Negotiations was at a high level. (2) the comparison of organizational commitment by personnel factors showed that the personnel with different genders, marital status, education levels, monthly incomes, durations of work at the Department of Trade Negotiations, and job positions had no different organizational commitment, while the personnel with different ages had different organizational commitment with a statistical significance level of 0.05; and (3) as for the guidelines for enhancing the organizational commitment, it was suggested that the organization emphasize to improve the personnel’s pride for being part of the organization due to the personnel had the least organization commitment in this aspect. In this regard, the executives should give the personnel a freedom to create and show their full potential to create value for themselves and should distribute important work to everyone equally to keep the personnel feels being a part of the organization. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
155001.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License