Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8866
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
dc.contributor.author | ไกรสร อัมมวรรธน์, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T07:16:55Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T07:16:55Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8866 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์โดยจำแนกตามคณะ เพศและผลสัมฤทธิ์ ในการเรียน (2) ศึกษาตัวแปรพยากรณ์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตจากปัจจัยด้านสัมพันธภาพ ในครอบครัว รูปแบบการดำเนินชีวิต ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และกิจกรรมพิเศษของมหาวิทยาลัย และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของบัณฑิตในการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมของมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่าง คือบัณฑิตจำนวน 137 คน ประกอบด้วยคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ จำนวน 16 คน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 28 คน และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศจำนวน 93 คน ใช้วิธีของ ยามาเน่ในการคำนวณขนาดตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยข้อคำถามมีค่าความตรงอยู่ระหว่าง 0.70-1.00 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .80 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย ปรากฏว่า (1) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตอยู่ในระดับมากทั้ง 3 คณะ และไม่มีความแตกต่างกันในด้านคณะ เพศ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (2) สัมพันธภาพในครอบครัว รูปแบบการดำเนินชีวิต และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้ร้อยละ 25 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการพยากรณ์มี ค่า .465 และสามารถสร้างสมการถดถอยเพื่อใช้ในการพยากรณ์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ได้ดังนี้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ = 1.714 + 0.277 (สัมพันธภาพในครอบครัว) + 0.181 (รูปแบบการดำเนินชีวิต) + 0.151 (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน) และ (3) นักศึกษามีข้อเสนอแนะในด้านของความต้องการ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริง มีกิจกรรมหลายรูปแบบในการเรียนเพื่อทำให้เข้าใจดีขึ้นและไม่น่าเบื่อ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.172 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา-- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--บัณฑิต | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting desirable characteristics of Bachelor's Degree Graduates in Science and Technology, Durakij Pundit University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to compare desirable characteristics of graduates in Science and Technology of Dhurakij Pundit University classified by faculty, gender, and learning achievement; (2) to investigate the factors that could predict desirable characteristics from the following factors: family relationship, lifestyle, learning achievement, and extracurricular activities; and (3) to study opinions of the graduates concerning instructional management and extra-curricular activities of the university. The research sample consisted of 137bachelor’s degree graduates in Science and Technology classified into 16 graduates from the Faculty of Applied Science, 28 graduates from the Faculty of Engineering, and 93 graduates from the Faculty of Information Technology, all of which were obtained by systematic random sampling. The sample size was determined based on Taro Yamane’s method. The employed research instrument was a questionnaire on graduate student’s desirable characteristics, developed by the researcher. The content validity coefficients of questionnaire items ranged from .70 to 1.00 and the reliability coefficient of the questionnaire was .80. Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, Pearson correlation coefficient, and multiple regression analysis. The research findings were as follows: (1) the overall desirable characteristics of graduates from all faculties were at the high level. Graduates from different faculties, with different genders and learning achievement levels did not differ significantly in their desirable characteristics; (2) the factors of family relationship, life style, and learning achievement could be combined to predict desirable characteristics by 25 per cent with prediction standard error of .465, which was significant at the .05 level. The regression equation for predicting desirable characteristics was as follows: Desirable characteristics = 1.714 + 0.277(Family relation) + 0.181(Live style) + 0.151(Learning achievement); and (3) the graduates had the following suggestions: they need to have practicum in real working situations, and there should be a variety of learning activities in order to enhance their understanding and to prevent boring. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิรนาท แสนสา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
147949.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License