Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประยงค์ เนาวบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราวดี ปฏิวัติวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวิมล ใจโปร่ง, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-15T08:01:55Z-
dc.date.available2023-08-15T08:01:55Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8875-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดตาก (2) การดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจังหวัดตาก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (รอบสอง) ปีการศึกษา 2549 จำนวน 210 คน จำแนกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จํานวน 30 คน และครูผู้สอน จำนวน 180 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ร้อยละ 25 ของเตอร์ลินเจอร์ และได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำของ ผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และแบบสอบถามด้านการดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษาพื้นฐานในจังหวัดตาก มีแบบภาวะผู้นำทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเรียงตามลำดับ ได้แก่ แบบภาวะผู้นำแบบให้มีส่วนร่วม แบบ สนับสนุน แบบมุ่งความสำเร็จของงาน และแบบสั่งงาน (2) สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดตาก มีการดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในทุกด้านอยู่ในระดับมาก และ (3) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา แบบมุ่งความสำเร็จของงาน แบบให้มีส่วนร่วม และแบบสนับสนุน มีความสัมพันธ์กับการดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ทุกด้านในทางบวกในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนแบบภาวะผู้นำแบบสั่งการ มีความสัมพันธ์กับการดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ในทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประกันคุณภาพภายในth_TH
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษา--ไทย--ตากth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeLeadership styles of school administrators and development of the internal quality assurance system in Basic Education Schools in Tak Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOIhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.231en_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) the leadership styles of basic education school administrators in Tak province; (2) the operation of the internal quality assurance system of basic education schools; and (3) the relationships between leadership styles of school administrators and the operation of the internal quality assurance system of basic education schools. The research sample totaling 210 school personnel consisted of 30 administrators and 180 teachers in basic education schools in Tak province that had undergone the second round of external quality assessment conducted by the Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) in the 2006 academic year. The sample was obtained by systematic sampling and the sample size was determined according to Kirlinger’s 25 percent criterion. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on leadership styles of school administrators, with .97 reliability coefficient; and on the operation of the school internal quality assurance system, with .98 reliability coefficient. Statistics for data analysis were the frequency, percentage, wean, standard deviation, and Pearson correlation. Research findings showed that (1) basic education school administrators in Tak province had every leadership style at the high level, with the ranking of leadership styles according to their rating means as follows: the participative style, the supportive style, the achievement-oriented style, and the directive style, respectively; (2) the operation of the internal quality assurance system of basic education schools in Tak province was at the high level in every aspect; and (3) school administrator’s achievement-oriented leadership style, participatory leadership style, and supportive leadership style correlated positively at the high level, and significantly at the .01 level, with every aspect of the operation of the internal quality assurance system; while the directive leadership style correlated positively but at the moderate level, and significantly at the .01 level, with the operation of the school internal quality assurance systemen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons