Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8878
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพักตร์ พิบูลย์ | th_TH |
dc.contributor.author | วิชัย บำรุงศรี, 2496- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T08:25:10Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T08:25:10Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8878 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาเกณฑ์ประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม จังหวัดนครสวรรค์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และ 2) ศึกษาผลการใช้ระเบียบวิธีวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ในการพัฒนาเกณฑ์ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย (1) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตร จำนวน 10 คน เป็นผู้ให้ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับเกณฑ์ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา (2) บุคลากรแกนนำของโรงเรียนจิรประวัติวิทยาคมที่เข้าร่วมในกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จำนวน 17 คน และ (3) กลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม จํานวน 286 คน เป็นผู้ให้ข้อมูลเพื่อตรวจสอบคุณภาพของเกณฑ์ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบสัมภาษณ์กลุ่ม และแบบสอบถามประเภทมาตรประมาณค่า การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ได้ข้อสรุปดังนี้ 1) เกณฑ์การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสม จำแนกเป็น 5 ด้าน คือ (1) ด้านบริบทหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบไปด้วย 5 ตัวชี้วัด 42 พฤติกรรมบ่งชี้ (2) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบด้วย 4 ตัวชี้วัด 30 พฤติกรรมบ่งชี้ (3) ด้านการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ประกอบไปด้วย 5 ตัวชี้วัด 24 พฤติกรรมบ่งชี้ (4) ด้านการสนับสนุนส่งเสริมการใช้หลักสูตร ประกอบด้วย 7 ตัวชี้วัด 35 พฤติกรรมบ่งชี้ และ (5) ด้านการติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตร ประกอบไปด้วย 10 ตัวชี้วัด 68 พฤติกรรมบ่งชี้ และ 2) ผลการใช้ระเบียบวิธีวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเกณฑ์ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา พบว่า ได้เกณฑ์ประเมินหลักสูตรที่มีความเหมาะสมในระดับมาก และผู้ร่วมในกระบวนการวิจัยและพัฒนา เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเกณฑ์และการประเมินหลักสูตรในระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร | th_TH |
dc.title | การพัฒนาเกณฑ์ประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม จังหวัดนครสวรรค์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม | th_TH |
dc.title.alternative | The development of school-based curriculm eveluation criteria by using the participatory action research for Jiraprawat Witayakhom School, Nakhon Sawan province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.106 | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to: (1) develop school-based curriculum evaluation criteria for Jiraprawat Witayakhom School, Nakhon Sawan Province, with the use of participatory action research; and (2) study the results of school-based curriculum evaluation criteria development with the use of participatory action research. Sources of data for this study comprised (1)10 curriculum experts to provide preliminary information concerning school-based curriculum evaluation criteria; (2) 17 core personnel of Jiraprawat Witayakhom School who took part in the participatory action research process; and (3) 286 stakeholders concerning with implementation of school-based curriculum of Jiraprawat Witayakhom School to provide data for verification of the developed school-based curriculum evaluation criteria. The employed data collecting instruments consisted of a structured interview form, a group interview form, and a rating scale questionnaire. Data were analyzed with the use of the content analysis method, frequency, percentage, mean, and standard deviation. Conclusions from research findings were as follows: 1. The appropriate criteria for school-based curriculum evaluation were classified into five components: (1) the context for school-based curriculum consisting of five indicators and 42 indicator behaviors; (2) the school-based curriculum management consisting of four indicators and 30 indicator behaviors; (3) the instructional management based on the curriculum consisting of five indicators and 24 indicator behaviors; (4) the supports and promotion of curriculum implementation consisting of seven indicators and 35 indicator behaviors; and (5) the follow-up and evaluation of curriculum implementation consisting of 10 indicators and 66 indicator behaviors. 2. Regarding the results of using participatory action research to develop school-based curriculum evaluation criteria, it was found that the developed curriculum evaluation criteria were appropriate at the high level, and participants in the participatory action research process obtained learning concerning curriculum criteria development and curriculum evaluation at the high level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อรรณพ จีนะวัฒน์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License