Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8881
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภวเทพ สำราญสุข, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T00:57:25Z-
dc.date.available2023-08-16T00:57:25Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8881-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการของผู้สอนและผู้เรียนที่มีต่อการเรียนแบบจำลองการเรียนรู้แบบผสมผสานผ่านสื่อสังคมออนไลน์วิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สำหรับโรงเรียนในจังหวัดปทุมธานี (2) สร้างแบบจำลองการเรียนรู้แบบผสมผสานผ่านผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ และ (3) ประเมินแบบจำลองการเรียนรู้แบบผสมผสานผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ครูผู้สอนวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 24 คน (2) ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา และด้านการสอนชีววิทยา จำนวน 8 คน และ (3) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา และด้านการสอนชีววิทยา จำนวน 3 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม ในปีการศึกษา 2557 จำนวน 312 คน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบสอบถามสำหรับครูผู้สอนวิชาชีววิทยา (2) แบบสอบถามสำหรับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (3) ประเด็นคำถามสำหรับการระดมความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ (4) แบบจำลองการเรียนแบบผสมผสานผ่านสื่อสังคมออนไลน์ และ (5) แบบประเมินแบบจำลองการเรียนแบบผสมผสมผสานผ่านสื่อสังคมออนไลน์ สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผู้สอนและผู้เรียนมีความต้องการแบบจำลองการเรียนแบบผสมผสานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผลจากการระดมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า แบบจำลองการเรียนรู้แบบผสมผสาน เน้นการเรียนแบบผสมผสานระหว่างการเรียนแบบเผชิญหน้าและการเรียนผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ ในอัตราส่วน 70:30 โดยแบบจำลองการเรียนแบบผสมผสานผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ประกอบด้วย (ก) องค์ประกอบของการเรียนแบบผสมผสานผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ ได้แก่ องค์ประกอบด้านปัจจัยนาเข้า ครอบคลุม วัตถุประสงค์ของการเรียน คุณลักษณะของผู้สอนและผู้เรียน สื่อประกอบการเรียนรู้ วิธีการปฏิสัมพันธ์ผ่านเครือข่าย แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อม/เทคโนโลยีสนับสนุน องค์ประกอบด้านกระบวนการ ครอบคลุม ลักษณะของการเรียนรู้ ระยะเวลาการเรียนการสอน การดาเนินการก่อน ระหว่าง และหลังการเรียนการสอน และองค์ประกอบด้านผลลัพธ์ ครอบคลุม ผลลัพธ์ของการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ การประเมินแบบจำลองการเรียนแบบผสมผสานผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ และการปรับปรุงแบบจำลองการเรียนแบบผสมผสานผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ (ข) ขั้นตอนการเรียนแบบผสมผสานประกอบด้วย 5 ขั้นคือ ปฐมนิเทศ นำเข้าสู่บทเรียน ดำเนินการและประกอบกิจกรรมการเรียน ขั้นสรุป และประเมินผลการเรียน และ (3) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาประเมินแบบจำลองการเรียนแบบผสมผสานผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์ว่าอยู่ในระดับเหมาะสมมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.53en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบผสมผสานth_TH
dc.titleแบบจำลองการเรียนแบบผสมผสานผ่านสังคมการเรียนรู้ออนไลน์วิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สำหรับโรงเรียนในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeModel of blended learning via online learning community on Biology at Mathayom Suksa IV level for Schools in Pathumthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the needs of teachers and learners for the model of blended learning via online learning community on biology at Mathayom Suksa IV level for schools in Pathum Thani province; (2) to create a model of blended learning via online learning community; and (3) to evaluate the model of blended learning via online learning community. The research population consisted of (1) 24 teachers who taught Mathayom Suksa IV biology classes in Pathum Thani province; (2) eight technology and communications specialists and biology teaching specialists; and (3) three technology and communications and biology teaching experts. The research sample consisted of 312 Mathayom Suksa IV students in the Science-Mathematics Program at Thammasat Klong Luang Witthayakhom School in academic year 2014, obtained by simple random sampling. The research tools comprised (1) a questionnaire for biology teachers; (2) a questionnaire for Mathayom Suksa IV students; (3) questions for brainstorming by experts; (4) a model of blended learning via online learning community; and (5) an evaluation form for the model of blended learning via online learning community. Statistics for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. The research results indicated that (1) overall, teachers and students highly needed the blended learning model; (2) as a result of brain storming by the specialists, it was found that the blended learning model put emphasis on blending the confrontation learning and learning via online community learning in the ratio of 70:30; the model of blended learning via online learning community was composed of (a) the blended learning components comprising the input components which included the purposes of learning, characteristics of teacher and learners, learning media, interaction method via network, guidelines for organizing learning activities, and environment/supporting technology; the process component which included characteristics of the blended learning, instructional duration, and the operations prior to, during, and after the instruction; and the output component which included learning outcomes of the blended learning via online learning community, evaluation of the blended learning model via online learning community, and improvement of the blended learning model via online learning community; (b) the blended learning process comprises five stages: orientation, introduction to the lesson, conducting the learning process and activities, conclusion, and learning evaluation; and (3) results of evaluating the blended learning model by technology and communications and biology teaching experts showed that the model was appropriate at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147981.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons