Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8882
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนลินี ณ นคร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนราศักดิ์ ไชยเรือง, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T01:14:25Z-
dc.date.available2023-08-16T01:14:25Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8882-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความไม่สอดคล้องระหว่างการประเมินของครูคณิตศาสตร์กับมาตรฐานการประเมิน (2) วิเคราะห์ผลกระทบของความไม่สอดคล้องระหว่างมาตรฐานการประเมินกับการประเมินของครูต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ (3) วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ของความไม่สอดคล้องระหว่างมาตรฐานการประเมินกับการประเมินของครูกับปัจจัยของนักเรียนต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประชากร คือ ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 33 โรงเรียน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 6,557 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูคณิตศาสตร์จำนวน 33 คน และนักเรียนจำนวน 957 คน ได้จากการสุ่มแบบสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบสอบถามนักเรียนและแบบสอบถามครู ซึ่งใช้เก็บข้อมูลตัวแปรระดับนักเรียน 3 ตัวแปร ได้แก่ ความรู้เดิมของนักเรียน จำนวนชั่วโมงในการเรียนพิเศษ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ และตัวแปรระดับครู 4 ตัวแปร ได้แก่ การประเมินที่ครูใช้ วิทยฐานะ ประสบการณ์สอน เจตคติต่อการประเมิน ความไม่สอดคล้องระหว่างการประเมินของครูกับมาตรฐานการประเมินคำนวณจากดัชนีความสอดคล้องของพอร์เตอร์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์พหุระดับ ผลการวิจัย พบว่า (1) ความไม่สอดคล้องระหว่างมาตรฐานการประเมินกับการประเมินของครูในภาพรวมมีค่าน้อย ( 2) ความไม่สอดคล้องของการประเมินของครูมีผลกระทบทางลบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) ความไม่สอดคล้องของการประเมินของครูมีปฏิสัมพันธ์กับความรู้เดิมของนักเรียนต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.51en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- คณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ไทย -- เชียงใหม่th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การประเมินth_TH
dc.subjectนักเรียน -- การประเมินth_TH
dc.titleผลกระทบของความไม่สอดคล้องระหว่างมาตรฐานการประเมินกับการประเมินของครูต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeImpact of misalignment between intended assessment standards and teachers' assessment practices on Mathematics achievement of Mathayom Suksa IV students in Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) assess the misalignment between intended assessment standards and mathematics teachers’ assessment practices; (2) analyze the impact of misalignment between intended assessment standards and teachers’ assessment practices on Mathayom Suksa IV students’ mathematics achievement; and (3) analyze the interaction of misalignment between teachers’ assessment practices and students’ factors on Mathayom Suksa IV students’ mathematics achievement. The research population comprised mathematics teachers at Mathayom Suksa IV level of 33 schools in Chiang Mai province, and 6,557 Mathayom Suksa IV students in the academic year 2014. The research sample consisted of 33 mathematics teachers and 957 students obtained by two-stage random sampling. Data collection tools comprised a mathematics learning achievement test; a questionnaire for students designed to collect three student variables, namely, prior knowledge, tutorial hours, and attitude towards mathematics; and a questionnaire for teachers designed to collect four teacher variables, namely, the employed assessment practices, academic rank, teaching experience, and attitude towards evaluation. Misalignment between teachers’ assessment practices and intended assessment standards was calculated using Porter’s alignment index. Multilevel analysis was used to analyze data. The results showed that (1) misalignment between intended assessment standards and teacher’ assessment practice, in overall, was trivial; (2) teachers’ assessment misaligned with standards had a statistically and significantly negative impact on mathematics achievement at the .01 level; and (3) there was an interaction of teachers’ misalignment and students’ prior knowledge on mathematics learning achievement, which was statistically significant at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
147982.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons