Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพจนีย์ โมลิศวงษ์, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T03:38:44Z-
dc.date.available2023-08-16T03:38:44Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8893-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อทองรูปพรรณของผู้บริโภคในอำภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฏ์ธานี (2) เปรียบเทียบส่วนประสมการคลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามปัจชัยส่วนบุกคล และ (3) เปรียบเทียบส่วนประสมการตลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุรายฎร์ ธานี จำแนกตามพฤติกรรมการซื้อทองรูปพรรณ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ที่เคยซื้อทองรูปพรรณในร้านทองอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการคำนวณตามสูตรของคอร์แครน ได้ 400 คน สุ่มตัวอย่างตามความสะดวก และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บราบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่เอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีแอลเอสดี ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมซื้อจี้มากที่สุด มีค่ใช้จ่ายในการซื้อ 15,00 1-20,000 บาทต่อครั้ง สะดวกใช้บริการเวลา 17.0 1-20.00 น. ความถี่มากกว่า 12 เดือนต่อครั้ง ชำระเงินด้วยเงินสด โดยมาซื้อทองเพียงคนเดียว และดนเองเป็นผู้ที่มีอิทธิพลในการซื้อ (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ค้านเพศ อายุ ระดับการศึกยา สถานภาพ รายได้ต่อเดือน และอาชีพ แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี แดกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ (3 พฤติกรรมการซื้อทองรูปพรรณ ด้านวิธีการชำระเงิน บุคคล มาซื้อทองรูปพรรณด้วย บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการซื้อ ค่ใช้ง่ายในการซื้อ ช่วงเวลาในการซื้อ และความถี่ในการซื้อ แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำเภอเกาะสมุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี แดกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทอง--การตลาดth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectการตัดสินใจth_TH
dc.subjectเครื่องประดับทองคำ--การตลาดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎ์ธานีth_TH
dc.title.alternativeServices marketing mix of goldsmith’s shop in Koh Samui District, Suratthani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study purchasing behavior of gold ornament of customers in Koh Samui District, Suratthani Province (2) to compare service marketing mix factors of gold ornament shop in Koh Samui District, Suratthani Province; and (3) to compare service marketing mix factors of gold ornament shop in Koh Samui District, Suratthani Province classified by purchasing behaviors. This study was a survey research. Population was unknown customers who used to purchase gold ornaments at goldsmith’s shop in Koh Samui District, Suratthani Province. Sample size was 400 samples calculated by Cochran’s formula and employed with multistage stage sampling method. Research instrument for data collection was a questionnaire. Statistic for data analysis were percentage, mean, standard deviation, T-test, F-test, one-way ANOVA and least significant difference: LSD. The results showed that: (1) the majority of samples purchased pendant necklace. The value of purchasing was between 15,001-20,000 baht a time of purchasing, came at 17.01-20.00 hrs., frequency of purchasing was more than 12 months, paid by cash, came alone and self influence (2) the difference of personal factors in term of gender, age, educational background, status, income and occupation influenced towards goldsmith’s shop in Koh Samui District, Suratthani Province differently at statistical significance at 0.05 and; and (3) gold ornament purchasing behavior in term of different payment, influential person to the purchasing, price, period, and frequency of purchasing influenced towards marketing mix factors of goldsmith’ service in Koh Samui District, Suratthani Province differently at statistical significance at 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltet_158821.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons