กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8893
ชื่อเรื่อง: ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎ์ธานี
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Services marketing mix of goldsmith’s shop in Koh Samui District, Suratthani Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษา
พจนีย์ โมลิศวงษ์, 2528-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
ทอง--การตลาด
พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--สุราษฎร์ธานี
การตัดสินใจ
เครื่องประดับทองคำ--การตลาด
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
วันที่เผยแพร่: 2560
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อทองรูปพรรณของผู้บริโภคในอำภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฏ์ธานี (2) เปรียบเทียบส่วนประสมการคลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามปัจชัยส่วนบุกคล และ (3) เปรียบเทียบส่วนประสมการตลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุรายฎร์ ธานี จำแนกตามพฤติกรรมการซื้อทองรูปพรรณ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ที่เคยซื้อทองรูปพรรณในร้านทองอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการคำนวณตามสูตรของคอร์แครน ได้ 400 คน สุ่มตัวอย่างตามความสะดวก และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บราบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่เอฟ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีแอลเอสดี ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมซื้อจี้มากที่สุด มีค่ใช้จ่ายในการซื้อ 15,00 1-20,000 บาทต่อครั้ง สะดวกใช้บริการเวลา 17.0 1-20.00 น. ความถี่มากกว่า 12 เดือนต่อครั้ง ชำระเงินด้วยเงินสด โดยมาซื้อทองเพียงคนเดียว และดนเองเป็นผู้ที่มีอิทธิพลในการซื้อ (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ค้านเพศ อายุ ระดับการศึกยา สถานภาพ รายได้ต่อเดือน และอาชีพ แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี แดกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ (3 พฤติกรรมการซื้อทองรูปพรรณ ด้านวิธีการชำระเงิน บุคคล มาซื้อทองรูปพรรณด้วย บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการซื้อ ค่ใช้ง่ายในการซื้อ ช่วงเวลาในการซื้อ และความถี่ในการซื้อ แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดบริการของร้านทองรูปพรรณในอำเภอเกาะสมุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี แดกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8893
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltet_158821.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.78 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons