Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้าth_TH
dc.contributor.authorเชิดศักดิ์ นัยนา, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T04:24:18Z-
dc.date.available2023-08-16T04:24:18Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8898en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง ยุติธรรมชุมขน: ศึกษาตำรวจชุมชนสัมพันธ์กับการป้องกัน อาชญากรรม มีวัตถุประสงค์(1) เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎียุติธรรมชุมชนที่เกี่ยวกับตำรวจชุมชน (Community policing) ตำรวจผู้รับใช้ชุมชน ในการป้องกันอาชญากรรม (2) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรค บทบาท ภารกิจ และ สถานะของตำรวจชุมชน (3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบวิธีการตำรวจชุมชน (Community policing) ของไทย กับต่างประเทศ การศึกษาวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) โดยการศึกษาจากตำรากฎหมาย ศึกษาหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการนำกระบวนการ “ยุติธรรมชุมชน” (Community Justice)!ปใช้โดยการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและปรากฏการณ์จริงจากการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาและวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักเกณฑ์ใน กระบวนการยุติธรรมชุมชนกับยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีส่งเสริมสนับสนุนหรือกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนเข้า มีส่วนร่วมหรือเป็นหุ้นส่วนในการป้องกันควบคุมจัดการความขัดแย้งเชิงสมานฉันท์ ลดและเยียวยาความเสียหาย หรือความรุนแรงที่เกิดจากอาชญากรรมหรือการกระทำผิด ตลอดจนรับผู้กระทำผิดกลับคืนสู่ชุมชนด้วยการพื่นฟู ระบบยุติธรรมเชิงจารีต และ/หรือระบบยุติธรรมชุมชนโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนรู้สึกมั่นคงปลอดภัย สามารถเข้าถึงความยุติธรรมได้และเพื่อให้ชุมชนมีศักยภาพ มีความสมานฉันท์ และมีกลไกการทำงานตามระบบ ยุติธรรมชุมชนที่เชี่อมโยงกับระบบยุติธรรมหลักผ่านการประสานงานของหน่วยงานยุติธรรมจังหวัดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ผลการศึกษาพบว่าสวัสดิการ/ประโยชน์ที่จะได้รับของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สมาชิกอาสาสมัคร ตำรวจบ้าน ตลอดถึงอาสาสมัครแนวร่วมอื่นๆ ยังไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและกฎหมายที่ชัดเจน เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์กรณีประสบภัยจนได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการช่วยเหลือราชการตามกฎหมาย เพื่อ เป็นขวัญและกำลังใจ หรือแรงจูงใจให้กับอาสาสมัครดังกล่าว ผู้ศึกษาจึงได้เสนอให้มีการแก้ไขระเบียบสำนักงาน ตำรวจแห่งชาติว่าต้วยการส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน ห้องถี่นและองค์กรมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ พ.ศ. 2551 หมวด 7 สวัสดิการที่จะไต้รับ ข้อ 17 สวัสดิการหรือประโยชน์ที่จะได้รับเกี่ยวกับค่าตอบแทนดังกล่าวโดยตรง และสามารถเบิกจ่ายได้จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติเพียงหน่วยงานเดียว เพื่อเป็นแรงจูงใจและขวัญกำลงใจแก่ อาสาสมัครในการร่วมทำงานให้กับตำรวจชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพยี่งขึ้น และเห็นควรมีการปรับปรุง โครงสร้างของสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้มีหน่วยงานตำรวจชุมชนสัมพันธ์เป็นหน่วยงานอิสระที่ขึ้นตรงกับ สำนักงานตำรวจแห่งชาติโดยตรงและมีภารกิจหน้าที่แตกต่างจากตำรวจหน่วยงานหลัก เพื่อทำหน้างานชุมชน สัมพันธ์เพียงอย่างเดียว และกำหนดเป็นนโยบายของกระทรวงยุติธรรมในการที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectตำรวจชุมชนสัมพันธ์th_TH
dc.subjectอาชญากรรม--การป้องกันth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th_TH
dc.titleยุติธรรมชุมชน : ศึกษาตำรวจชุมชนสัมพันธ์กับการป้องกันอาชญากรรมth_TH
dc.title.alternativeCommunity justice : the study of the police community relation to prevent crimeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independentstudy is “The Community Justice : The Study of The Police Community Relation to Prevent Crime”. The objectives of this study are: (1) to study the idea of a community justice theory and the police community in preventing crime (2) to study problems, obstacles and status of the police’srole in community mission (3) to learn comparative study models of community police (Community policing) of Thailand and foreign countries. The study is a qualitative research with documentary research and legal texts. In addition, the rules associated with the process of "Community Justice" (Community Justice) are also used together with material and physical phenomena from the operation of police and collect personally identifiable to study and analyze the criteria in comparison to community justice. Furthermore the strategies and tactics to promote or encourage people to participate in the community or a partnership in the management of the conflict prevention and reconciliation are to reduce remedies or the severity of the crime or offense, as well as to return the offender to community. In this regard, justice tradition system of rehabilitation and/or community justice system are the goals to make people feel safe and secure in order to access to justice and community solidarity and a potential mechanism for work in accordance with the community justice system justice system associated with global justice through the coordination of State agencies. The study found that the welfare and benefits of the police Community Relations and are not responsed by any organization. In this regard, there are no laws concerning the benefits in case of victims injury or death from the government. In accordance with the law, to be morale or motivation has to revise the regulations for the Correction Rules National Police, with the Local Community and Encouraging People to participate in any police business organization B.E. 2551 Section 7 welfare Article 17. These regulations are concerned about the remuneration that can be paid by the Police Department agency, in order motivate the volunteers in participation in the community works with the police. In addition to restructuring of the police agencies, a police Community Relations to be an independent organization which base upon the policy of the Ministry of Justice.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_135851.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons