Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/889
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิศาล มุกดารัศมี | th_TH |
dc.contributor.author | คัมภีร์ ทองพูน, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-23T02:45:18Z | - |
dc.date.available | 2022-08-23T02:45:18Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/889 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาลักษณะปัญหาความขัดแย้งในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา (2) เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งใน อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา (3) เพื่อเสนอวิธีการการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตาม แบบสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอยางได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านใน อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รวมทั้งสิ้น 21 คน วิเคราะห์และนำเสนอแบบเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ลักษณะปัญหาและสาเหตุความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในชุมชน ได้แก่ ปัญหาทะเลาะวิวาท ปัญหาการขาดความสามัคคี ปัญหาการเมือง ปัญหายาเสพติด ปัญหา อาชญากรรม ปัญหาครอบครัว ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ (2) บทบาทกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ การใช้หลักเหตุผล หลักความจริง ยุติธรรม จริงจังในการแก้ไขปัญหา ดูแลให้ความช่วยเหลือชาวบ้านในหมู่บ้าน ทำงานอย่างจริงจังเพื่อแก้ไขความขัดแย้งให้ทันเวลา เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่คู่กรณีเป็นนักประสานงานที่ดี ให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วน และ ทำงานตรงไปตรงมา (3 ) วิธีการการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน กำนันผู้ใหญ่บ้านใช้วิธีการ การแก้ไขปัญหาร่วมกันเป็นวิธีการแรก ตามด้วยการประนีประนอม การใช้อำนาจและการระงับโดยการใช้เสียงส่วนใหญ่ การไกล่เกลี่ย การหลีกเลี่ยง และการบังคับ ส่วนการทำงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้านให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมและการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ทั้งนี้ยังพบว่าในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ชาวบ้านให้ความสำคัญต่อ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มากกว่าสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความขัดแย้งทางสังคม -- ไทย -- สงขลา | th_TH |
dc.subject | กำนันและผู้ใหญ่บ้าน | th_TH |
dc.title | บทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน : กรณีศึกษาอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา | th_TH |
dc.title.alternative | The Role of village headmen in conflict resolution : a case study of Thepha Distric, Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was conducted to (1) study characteristics of conflict problems, (2) study the role of village headmen in conflict resolution, and (3) purpose means for village headmen to resolve the conflict A qualitative research was employed based on data collection using a structured interview. Purposive sampling method was utilized, giving that the 21 village headmen in Thepha District of Songkhla Province became the surrogates of this research. Finally, descriptive analysis was used to report the results The results indicated that; (1) Characteristics of problems and conflicts within village were quarrel, lacking of unity, political issues, drugs, crimes, family issues, and unrest in community. (2) The roles of village headmen in solving conflict were played through the usage of reasonableness, truth, justice, sincerity in solving problems, care and assistance people. They conscientiously functioned to solve conflict in time in order to maximize benefits to parties. Additionally, they were good coordinators and straightforward functional. (3) The means of conflict resolution within village were purposed in several ways. They primarily solved conflicts with the participation of people, and followed by compromise and authority power that included majority rules, smoothing, and avoidance respectively. Moreover, headmen also worked with local government in doing activities. However, it should be noted that people still relied more on headmen rather than local government | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ยุทธพร อิสรชัย | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib130191.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License