Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8903
Title: การใช้เทคนิคการพยากรณ์ระยะสั้นในการพยากรณ์ยอดขาย LPG ของสถานีบริการสยามแก๊สในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Other Titles: The use of short term forecasting techniques to forecast LPG sale volume of Siam Gas Station Services in Northeastern Region
Authors: จีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษา
มกรา ง้อสุรเชษฐ์, 2526-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
พยากรณ์การขาย
สถานีบริการน้ำมัน--ไทย--ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจ
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พยากรณ์ชอดขาย LPG ของสถานีบริการสยามแก๊สในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยเทคนิคการพยากรณ์ระยะสั้น (2) เลือกเทนิคการพยากรณ์ที่เหมาะสมกับข้อมูลขอดขาย LPG ของสถานีบริการสยามแก๊สในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ (3) วิเคราะห์ค่าความลำเอียงของเทคนิคการพยากรณ์ที่เลือกโดยพิจารณาจากค่า ความลำอียงที่อยู่ภายใต้ขอบเขตที่ยอมรับได้ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้อมูลยอดขาย LPG สถนีบริการสชามแก๊สในภาคตะวันออกเฉียงเหนือระหว่างเคือนมกราคม พ.ศ.2ร58 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.2560 การพยากรณ์เชิงคุณภาพใช้การสัมภายณ์ผู้เชี่ยวชาญการพยากรณ์เชิงปริมาณใช้เทคนิคการพยากรณ์ระยะสั้น และ ใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นในการกำหนดน้ำหนักสำหรับกรณีการคำนวณค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้ำหนัก เลือกเทคนิคที่เหมาะสมโดยพิจารณาจากค่าความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์และค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสอง วิเคราะห์ค่ความลำเอียงโดยใช้ Tracking Signal ผลการศึกษาพบว่า (1) การพยากรณ์ โดยใช้เทคนิคการพยากรณ์ระยะสั้นแบบค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่และค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนักใช้ข้อมูลขอดขาย 3 เดือนตามความเห็ นของผู้เชี่ยวชาญเพื่อลดค่าความคลาดเคลื่อนของการพชากรณ์และกำหนดน้ำหนักเพื่อนำมาใช้ในการพยากรณ์ จากเทคนิคการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น โดยค่าน้ำหนักเฉถี่ยเดือนที่ เ เท่ากับ :.1: ค่น้ำหนักเฉถี่ยเดือนที่ 2 เท่ากับ 0.34 และค่าน้ำหนักเฉลี่ยเดือนที่ 3 เท่ากับ 0.48 (2) การเลือกเทคนิคการพยากรณ์ที่เหมาะสมสำหรับค่การพซากรณ์แต่ละสถานีบริการจะพิจารณาจากเทคนิดที่ให้ค่าเลี่ยส่วนเบี่ยงเบนสัมบูรณ์และค่เฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองที่ต่ำที่สุดซึ่งพบว่าเทคนิคการพยากรณ์ ที่เหมาะสมกับสถานีบริการสยามแก๊สสาขานครราชสีมาได้แก่เทคนิคการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนัก สถานีบริการสยามแก๊สสาขาขอนแก่นได้แก่เทคนิคการปรับเรียบเอ็กซ์ โปเนนเชียลครั้งเดียวและสถานีบริการสยามแก๊สสาขาอุบลราชธานีได้แก่เทคนิคการหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ถ่วงน้ำหนัก และ(3) เทดนิคการพยากรณ์ระยะสั้นที่หมาะสมกับการใช้งานของแต่ละสถานีบริการมีค่ความลำเอียงอยู่ภายใด้ช่วงค่าควบคุมที่ยอมรับได้โดยค่าความลำเอียงของสถานีบริการสยามแก๊สสาขานครราชสีมาเท่ากับ -0.99 STS<1.00 สาขาขอนแก่นเท่ากับ -0.65 STS S1.00 และสาขาอุบลราชธานีเท่ากับ -0.72 STS <1.00 แต่พบว่าค่าความลำเอียงของสถานีบริการสยามแก๊สสาขานครราชสีมามีค่าพซากรณ์ที่สูงกว่าขอดขาขอย่างต่อเนื่องหลายเดือนซึ่งจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารถึงสาเหตุกล่าวพบว่าสาขานครราชสีมาถูกปรับลดขนาดเป็นสถานีบริการขนาดเล็กจึงถูกตัดงบค้านโปร โมชั่นและมีแผนที่จะเปลี่ยนเป็นสถานีบริการน้ำมันในเดือนมิถุนายน 2561
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8903
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_157886.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons