Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8904
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์th_TH
dc.contributor.authorอับดุลซอมัด เล็งฮะ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T06:37:52Z-
dc.date.available2023-08-16T06:37:52Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8904en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส (2) เปรียบเทียบระดับการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน ตามความคิดเห็นของครูอิสลามศึกษาโดยจำแนกตาม วุฒิการศึกษาสายสามัญศึกษา วุฒิการศึกษาสายอิสลามศึกษา ประสบการณ์การสอน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาที่สังกัด และ (3) ศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ และแนวทางการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ ครูสอนวิชาอิสลามศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสทั้ง 3 เขต ในจังหวัดนราธิวาส จำนวน 214 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น สำหรับผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ และหัวหน้าวิชาการโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนหลักสูตรอิสลามศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสทั้ง 3 เขต รวม 15 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยง 0.98 และเครื่องมือการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ส่วนข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพวิเคราะห์โดยการตีความสร้างข้อสรุปการวิจัยแบบอุปนัย ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ (1) ระดับการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส ในภาพรวมมีผลการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก (2) ครูอิสลามศึกษาที่แตกต่างกันด้านวุฒิการศึกษาสายสามัญ สายอิสลามศึกษา ประสบการณ์การสอน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาที่สังกัดมีความคิดเห็นต่อการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนไม่แตกต่างกัน และ (3) สำหรับปัญหา ความต้องการ และแนวทางการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนราธิวาส พบว่า ต้องการให้แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับด้านงบประมาณมากที่สุด โดยเสนอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดสรรงบประมาณให้มีความเพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.94en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอิสลามศึกษา--ไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--นราธิวาสth_TH
dc.titleการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในจังหวัดนราธิวาสth_TH
dc.title.alternativeAdministration of Islamic study curriculum by school administrators under the offices of Primary education service area in Narathiwat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research was a mixed-method research with the following purposes: (1) to study the level of administration of Islamic Study Curriculum by school administrators under the Offices of Primary Education Service Area in Narathiwat province; (2) to compare the levels of administration of Islamic Study Curriculum by school administrators as perceived by Islamic Study teachers classified by general education qualification, Islamic Study qualification, teaching experience, and the supervising Office of Narathiwat Primary Education Service Area; and (3) to study the problems, needs, and guidelines for administration of Islamic Study Curriculum by school administrators under the Offices of Primary Education Service Area in Narathiwat province. The research sample in the quantitative study consisted of 214 Islamic Study teachers under the three Offices of Primary Education Service Area in Narathiwat province, obtained by stratified random sampling; while the research sample of informants for the qualitative study consisted of 15 school administrators, supervisors, and heads of academic affairs of school, all of which were purposively selected from schools in the three Narathiwat primary education service areas that were offering instruction in the Islamic Study Curriculum. The employed research instrument for the quantitative study was a 5-scale rating questionnaire with reliability coefficient of 0.98; while the research instrument for the qualitative study was a semi-structured interview form. The quantitative study data were statistically analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and one-way analysis of variance; while the qualitative study data were analyzed by interpretation in order to derive at inductive conclusion. Research findings were as follows: (1) the overall administration of Islamic Study Curriculum by school administrators under the Offices of Primary Education Service Area in Narathiwat province was rated at the high level; (2) Islamic Study teachers who were different in general education qualifications, Islamic Study qualifications, teaching experiences, and the supervising offices under which they worked did not significantly differ in their perceptions of administration of Islamic Study Curriculum by school administrators; and (3) regarding the problems, needs, and guidelines for administration of Islamic Study Curriculum by school administrators under the Offices of Primary Education Service Area in Narathiwat province, it was found that the most urgent need was to solve the budget problems, with the proposal for the concerned work agencies to allocate sufficient budget for Islamic Study Curriculum administration.en_US
dc.contributor.coadvisorนงเยาว์ อุทุมพรth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148297.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons