Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพอค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัชชารีย์ ประทีปธนวงศ์, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-16T06:58:10Z-
dc.date.available2023-08-16T06:58:10Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8910en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาหลักการแนวคิดและวิวัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับ การปลูกถ่ายอวัยวะและการค้าอวัยวะมนุษย์ (2) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับความรับผิดตาม พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 กับกรณีการปลูกถ่ายอวัยวะและการค้าอวัยวะ มนุษย์ (3) เพื่อศึกษากฎหมายของประเทศสิงคโปร์ ประเทศอังกฤษและประเทศออสเตรเลียเกี่ยวกับการปลูกถ่ายอวัยวะและการค้าอวัยวะมนุษย์เปรียบเทียบกับพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกรณีการปลูกถ่ายอวัยวะและการค้าอวัยวะมนุษย์ของไทย (4) เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ในส่วนที่เป็นช่องว่างและควรได้รับการพัฒนาให้ครอบคลุมต่อสถานการณ์ปัญหาในปัจจุบัน การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยใช้เอกสารเป็นหลักในการรวบรวมข้อมูลและข้อ กฎหมาย รวมถึงข้อเท็จจริงต่างๆ และนำข้อมูลที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ในลักษณะการเขียนเชิงพรรณนาเพื่อหา ข้อสรุปและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่อไป ผลจากการศึกษาพบว่า รูปแบบของการค้าอวัยวะมีลักษณะที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ การค้าอวัยวะไม่ เพียงแต่เป็นการบังคับ ข่มขู่หรือหลอกลวงเท่านั้น อาจมีกรณีสมยอมตกลงแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่าง คู่กรณีเกิดขึ้น ซึ่งตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 มาตรา 4 การแสวงหาประโยชน์โดย มิชอบรวมถึงการบังคับตัดอวัยวะเพื่อการค้า ต้องมีองค์ประกอบ 2 ประการสำคัญคือ 1.การกระทำในลักษณะบังคับตัดอวัยวะ 2. เพื่อการค้าในการพิจารณาถึงความรับผิดไม่ได้พิจารณาในแง่ของการค้าหรือการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบเป็นหลัก อันจะทำให้ผู้กระทำและผู้ที่เกี่ยวข้องต้องรับผิด ส่งผลให้ พ.ร.บ. ฉบับนี้ไม่ครอบคลุมต่อสถานการณ์ปัญหาในปัจจุบัน ที่อาจมีการยินยอมให้นำอวัยวะออกเพื่อผลประโยชน์ต่างๆ จึงควร แก้ไขเพี่มเติม พ.ร.บ.นี้ ให้ครอบคลุมต่อสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกรูปแบบโดยไม่เพ่งเล็งเฉพาะการใช้วิธีการบังคับ แต่ให้รวมถึงทุกกรณีที่มีการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบแต่ไม่รวมถึงการผ่าตัดแปลงเพศ และเสนอให้มีการบัญญัติเพิ่มเติมในกรณีการซื้อขายอวัยวะมนุษย์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องรับผิดตามพระราชบัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551th_TH
dc.subjectการปลูกถ่ายอวัยวะ เนื้อเยื่อ ฯลฯ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleความรับผิดตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ศึกษากรณีการปลูกถ่ายอวัยวะและการค้าอวัยวะมนุษย์th_TH
dc.title.alternativeThe liability under the anti-trafficking in person Act B.E. 2551 (2008) case study of human organ transplantation and traffickingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to (1)study the concepts and the evolution related to organ transplantation and human organ trafficking (2) To study and analyze the liability problem of “Anti-Human Trafficking Act B.E.2551” the case study of organ transplantation and human organ trafficking (3) Study of Singapore, England and Australia law in term of organ transplantation and human organ trafficking compared with the Anti-Human Trafficking Act B.E.2551 and the related law in Thailand.(4) Propose guidelines to improve and create the Anti-Human Trafficking Act B.E.2551 the unclear and need to modified to cover the current issue. This study is a qualitative study in the form of documentary, gathering data from law textbooks, matters of fact and analyzed the data in descriptive writer to find the conclusions and solutions. According to this study found that forms of organ trafficking tend to be higher in complication. Human organ trafficking is not only coercion or deception, but also there might be an element of mutual consent giving one’s own organ for others according to the Anti-human trafficking Act B.E.2551, section 4 “Exploitation” including the coerced removal of organ for the purpose of trade must have two essential elements 1.the coerced removal of organ and 2.for the purpose of trade. This Act legislation on liability not emphasize in terms of trade or exploitation that will effected to the actor and stakeholder to liable. This can be apprehended that the Anti-human trafficking Act does not cover the current issue that the person might give consent to remove organ for any benefits. Should be necessary to modify this Act to cover all type of current issue even those where no coercion took place but include all cases of exploitation except the transsexual. And propose to add the provision of the Act in case of the human organ trafficking will be effected to the stakeholder also liable according to the Anti-human trafficking Act B.E.2551.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_142294.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons