Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุขอารมย์ เพิ่มพันธุ์วรวัฒน์, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-17T07:45:59Z-
dc.date.available2023-08-17T07:45:59Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8942-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการลดแนวคิดด้านวัตถุนิยมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว (2) เปรียบเทียบการลดแนวคิดด้านวัตถุนิยมของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับข้อสนเทศทางการแนะแนว และ (3) เปรียบเทียบการลดแนวคิดด้านวัตถุนิยมของนักเรียนกลุ่มทดลองในระหว่างระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2558 ได้มาโดยการเลือกตามเกณฑ์ที่ต้องการศึกษาจำนวน 60 คน แล้วจึงสุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน นักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการฝึกโดยใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวจำนวน 12 ครั้ง ส่วนนักเรียนกลุ่มควบคุมได้รับข้อสนเทศเพื่อการแนะแนว เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อลดแนวคิดด้านวัตถุนิยม (2) ข้อสนเทศเพื่อการแนะแนว และ (3) แบบวัดแนวคิดด้านวัตถุนิยม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปทุมวัน ซึ่งเป็นกลุ่มทดลองมีการลดแนวคิดด้านวัตถุนิยมลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ภายหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวมีการลดแนวคิดด้านวัตถุนิยมลงกว่าการลดแนวคิดดังกล่าวของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ในระยะติดตามผลนักเรียนกลุ่มทดลองมีการลดแนวคิดด้านวัตถุนิยมไม่แตกต่างกับในระยะหลังการทดลองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.263en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนวth_TH
dc.subjectวัตถุนิยมth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อลดแนวคิดด้านวัตถุนิยมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาปทุมวัน กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to reduce the materialism concept of upper secondary students at Triam Udom Suksa Pathumwan School in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare the materialism concept reduction levels of upper secondary students at Triam Udom Suksa Pathumwan School in Bangkok Metropolis, who were in the experiment group, before and after using a guidance activities package; (2) to compare the materialism concept reduction level of the experimental group students who used the guidance activities package and the counterpart reduction level of the control group students who received a set of guidance information; and (3) to compare the materialism concept reduction level of the experimental group students at the end of the experiment with their counterpart reduction level in the follow-up period. This research is a quasi-experimental research. The research sample consisted of 60 purposively selected upper secondary students at Triam Udom Suksa Pathumwan School in Bangkok Metropolis in the 2015 academic year. Then they were randomly assigned into an experimental group and a control group, each of which consisting of 30 students. The experimental group students were trained for 12 periods with the use of a guidance activities package to reduce the materialism concept; while the control group students received a set of guidance information to study. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to reduce the materialism concept, (2) a set of guidance information, and (3) a scale to assess the materialism concept, with reliability coefficient of .95. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The results of this research showed that (1) after experiment, upper secondary students at Triam Udom Suksa Pathumwan School, who were in the experimental group, were able to reduce their materialism concept significantly at the .05 level; (2) after the experiment, the level of materialism concept of the experimental group students, who used the guidance activities package, was significantly more reduced than the counterpart level of the control group students who received the guidance information; and (3) no significant difference was found between the materialism concept reduction level at the end of the experiment of the experimental group students and their counterpart reduction level in the follow-up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150136.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons