กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8944
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุนทรี ผาตินาวิน, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-17T08:24:23Z-
dc.date.available2023-08-17T08:24:23Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8944-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนแสนสุข จังหวัดชลบุรี ในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง (2) เปรียบเทียบ พฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัว แบบเพื่อพัฒนาพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะ (3) เปรียบเทียบพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะของ นักเรียนกลุ่มทดลองระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผล (4) เปรียบเทียบพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะ ของกลุ่มทดลองที่มีภูมิหลังทางชีวสังคมแตกต่างกันหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนา พฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะ และ (5) สังเคราะห์ความคิดเห็นและความรู้สึกของนักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนาพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ปี การศึกษา 2558 โรงเรียนแสนสุข อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี จำนวน 70 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม 2 ห้องเรียน จากนั้นสุ่มเข้ากลุ่ม 2 กลุ่ม ได้กลุ่มละ 35 คน และสุ่มเพื่อกำหนดกลุ่ม เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบสอบถามพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะ มีค่าความเที่ยง .86 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะ จำนวน 12 กิจกรรม สำหรับนักเรียนกลุ่มทดลองและ (3) กิจกรรม แนะแนวอื่นๆ จำนวน 12 กิจกรรม สำหรับนักเรียนกลุ่มควบคุม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนแสนสุข ในกลุ่มทดลองหลังใช้ชุด กิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนาพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะมีพฤติกรรมความมีจิตสำนึก สาธารณะสูงกว่าของกลุ่มควบคุมหลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวอื่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) กลุ่ม ทดลองหลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนาพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะมีพฤติกรรม ความมีจิตสำนึกสาธารณะสูงกว่าพฤติกรรมดังกล่าวก่อนใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) กลุ่มทดลองในระยะหลังการทดลองกับ ระยะติดตามผลมีพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะไม่แตกต่างกัน (4) กลุ่มทดลองที่มีภูมิหลังทางชีวสังคมแตกต่างกัน หลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนาพฤติกรรม ความมีจิตสำนึกสาธารณะ มีพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะไม่แตกต่างกัน และ (5) การสังเคราะห์ข้อมูลจากใบ งานกิจกรรมของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม พบว่า นักเรียนมีพฤติกรรมจิตสำนึกสาธารณะสูงขึ้น โดยใช้เทคนิคตัว แบบทั้งตัวแบบบุคคลจริง ตัวแบบสัญลักษณ์ และสารบันทึกหรือคำบอกเล่า กลุ่มตัว อย่างได้เสนอวา่ ตัวแบบบุคคล จริงได้ผลดีที่สุด เพราะเป็นตัวแบบพฤติกรรมสังเกตง่ายและชัดเจน สามารถเลียนแบบพฤติกรรมตามตัวแบบได้ดีกว่า โดยการเสนอตัวแบบต้องควบคู่กับการเสริมแรงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.65en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนว -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนว -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- ไทย -- ชลบุรีth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามเทคนิคตัวแบบเพื่อพัฒนาพฤติกรรมความมีจิตสำนึกสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนแสนสุข จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package based on modeling technique to develop public consciousness behaviors of Mathayom Suksa I Students at Saen Suk School in Chon Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare public consciousness behaviors of Mathayom Suksa I students of Saen Suk School, Chon Buri province, in the experimental and control groups after the experiment; (2) to compare public consciousness behaviors of the experimental group students before and after using a guidance activities package based on modeling technique to develop public consciousness; (3) to compare public consciousness behaviors of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow up period; (4) to compare public consciousness behaviors of the experimental group students with different bio-social backgrounds after using the guidance activities package based on modeling technique to develop public consciousness; and (5) to synthetic opinions and feelings of the students who participated in guidance activities based on modeling technique to develop public consciousness. The research sample consisted of 70 Matthayom Suksa 1 students in two intact classrooms of Saen Suk School, Mueang Chon Buri district, Chon Buri province during the 2015 academic year, obtained by cluster sampling. Then they were randomly assigned into an experimental group and a control group, each of which consisting of 35 students. The employed research instruments comprised (1) a questionnaire on public consciousness behaviors, with reliability coefficient of .86; (2) a guidance activities package based on modeling technique to develop public consciousness comprising 12 activities for the experimental group students; (3) a set of 12 other guidance activities for the control group students. Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, t-test, two-way analysis of variance, and content analysis. The results showed that (1) the post-experiment public consciousness behavior scores of Mathayom Suksa I students of Saen Suk School in the experimental group, who used a guidance activities package based on modeling technique to develop public consciousness, was significantly higher than the counterpart behavior scores of the control group students who used a set of other guidance activities at the .05 level; (2) the postexperiment public consciousness behavior scores of the experimental group students after using the guidance activities package based on modeling technique to develop public consciousness were significantly higher than their pre-experiment counterpart behavior scores at the .05 level; (3) the public consciousness behavior scores of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow up period were not significantly different; (4) after using the guidance activities package based on modeling technique to develop public consciousness, the post-experiment public consciousness behavior scores of the experimental group students with different bio-social backgrounds were not significantly different; and (5) as for the synthesis of information from activities worksheets of the students who participated in the guidance activities, it was found that the students had increased their public consciousness behaviors as results of using the real person model, the symbol model, and the recorded document or informed story model; the students in the sample specified that the real person model was the most effective, because behaviors of the real persons were clear and easy to observe and the students can imitate their behaviors more easily; however, the model presentation must be accompanied by reinforcementen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
150304.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.86 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons