Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8953
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายไหม ดาบทอง, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-18T04:09:19Z-
dc.date.available2023-08-18T04:09:19Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8953-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (2) ศึกษาระดับการปฏิบัติงานของครูตาม เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (3) ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับการปฏิบัติงานของครูตามเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้ปฏิบัติหน้าที่การสอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 จำนวน 346 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่ และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างโดยการเทียบสัดส่วนรายโรงเรียนแล้วจึงสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนและ การปฏิบัติงานของครูตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 และ .96 ตามลำดับสถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านการมีอิทธิพลอย่างมี อุดมการณ์สูงที่สุด และด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลต่ำที่สุด (2) การปฏิบัติงานของครูตาม เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมาตรฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียนสูงที่สุด และมาตรฐานเกี่ยวกับความร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชน อย่างสร้างสรรค์ต่ำ ที่สุด (3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกในรับต่ำกับการปฏิบัติงานของครูตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.171en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectครู -- ภาระงานth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับการปฏิบัติงานของครูตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3th_TH
dc.title.alternativeRelationship between transformational leadership of School administrators and teacher's job performance based on teacher professional standards in schools under the Secondary Education Service Area Office 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the transformational leadership level of school administrators in schools under the Secondary Education Service Area Office 3; (2) to study teacher’s job performance level based on the teacher professional standards in schools under the Secondary Education Service Area Office 3; and (3) to study the relationship between transformational leadership of school administrators and teacher’s job performance based on the teacher professional standards in schools under the Secondary Education Service Area Office 3. The research sample consisted of 346 teachers in schools under the Secondary Education Service Area Office 3, obtained by simple random sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The data collecting instrument was a rating scale questionnaire on transformational leadership of school administrator and job performance of teacher based on the teacher professional standards, with reliability coefficients of .98 and .96 respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The research findings were as follows: (1) the overall transformational leadership of school administrators was at the high level, with the aspect of having ideological influence receiving the highest rating mean, while the aspect of consideration for individuality of persons receiving the lowest rating mean; (2) the overall teacher’s job performance based on the teacher professional standards was at the high level, with the performance based on the standard of conducting oneself as a role model for students receiving the highest rating mean, while the performance based on the standard of cooperation with other people in the community receiving the lowest rating mean; and (3) transformational leadership of school administrators correlated positively at the low level with teacher’s job performance, which was significant at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151550.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons