Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8954
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจรth_TH
dc.contributor.authorวันวิสาข์ แก้วแล, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-18T04:18:15Z-
dc.date.available2023-08-18T04:18:15Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8954-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลการพัฒนามารยาทไทยของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดพฤติกรรมนิยม และ (2) เปรียบเทียบผลการพัฒนามารยาทไทยของนักเรียนกลุ่มทดลองหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดพฤติกรรมนิยมกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา จังหวัดสงขลา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย จากนักเรียนที่ได้รับการประเมินจากครูผู้สอนว่าควรได้รับการพัฒนามารยาทไทย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดพฤติกรรมนิยม และ (2) แบบวัดมารยาทไทยมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนมารยาทไทยสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ในระยะติดตามผลนักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนมารยาทไทยสูงขึ้นกว่าระยะหลังการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.49en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมนิยม (จิตวิทยา)--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นมัธยม--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดพฤติกรรมนิยมที่มีต่อการพัฒนามารยาทไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package based on the behaviorism theory on the development of Thai Manners of Mathayom Suksa I students at Hat Yai Wattayalai Somboon Kulkanya School in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were (1) to compare the results of Thai manners development of the experimental group students before and after using a guidance activities package based on the behaviorism theory; and (2) to compare the result of Thai manners development of the experimental group students after using a guidance activities package with that during the follow-up period The subjects were 30 Mathayom Suksa I students studying in the second semester of the 2015 academic year at Hat Yai Wittayalai Somboon Kulkanya School in Songkhla Province, obtained by simple random sampling from the students who were evaluated by teachers that their Thai manners behavior needed further development. The employed research instruments comprised (1) a guidance activities package based on the behaviorism theory, and (2) a scale to assess Thai manners, with reliability coefficient of .98. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test Research findings showed that (1) after the experiment, the post-experiment Thai manners scores of experimental group students increased over their pre-experiment counterpart scores at the .05 level of statistical significance; and (2) the experimental group students’ Thai manners scores during the follow-up period were higher than their post-experiment counterpart scores at the .05 level of statistical significance.en_US
dc.contributor.coadvisorลัดดาวรรณ ณ ระนองth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151554.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons