Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลาวัลย์ รักสัตย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอำพร ศุภศรี, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-21T03:33:13Z-
dc.date.available2023-08-21T03:33:13Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8976-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) พัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จำนวน 377 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความตรง ความเที่ยง ความยาก ค่าอำนาจจาแนก และอำนาจการวินิจฉัย ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย 8 ทักษะ ได้แก่ การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา การคำนวณ การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล การลงความเห็นจากข้อมูล และการพยากรณ์ และ (2) แบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหา ความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.62-0.90 ความยากอยู่ระหว่าง 0.71-0.76 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.43-0.59 และอำนาจการวินิจฉัยผ่านเกณฑ์ ซึ่งแบบทดสอบมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.45en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- สุราษฏร์ธานีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- สุราษฏร์ธานีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- แบบทดสอบth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฏร์ธานี เขต 3th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a diagnostic test of relationship analysis skills on science and technology for Prathom Suksa IV students in schools under Surat Thani Primary Education Service Area 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a diagnostic test of relationship analysis skills on science and technology for Prathom Suksa IV students in schools under Surat Thani Primary Education Service Area Office 3; and (2) to examine the quality of the developed diagnostic test of relationship analysis skills on science and technology for Prathom Suksa IV students under Surat Thani Primary Education Service Area Office 3. The research sample consisted of 377 Prathom Suksa IV students in schools under Surat Thani Primary Education Service Area Office 3. The instrument employed in this research was a diagnostic test of relationship analysis skills on science and technology. Statistics for data analysis were the validity, reliability, difficulty index, discrimination index, and diagnosis index. Research findings revealed that (1) the developed diagnostic test of relationship analysis skills on science and technology consisted of 8 skills: observation, measurement, classification, finding the relationship between space and space and space and time, calculation, data processing and communication, data interpretation, and prediction; and (2) the developed diagnostic test of relationship analysis skills on science and technology had quality of content validity, reliability coefficients ranging from 0.62 – 0.90, difficulty indices ranging from 0.71 – 0.76, discrimination indices ranging from 0.43 – 0.59, and met the diagnosis power criterion. Thus, quality of the developed test met the pre-determined criteriaen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152848.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons